• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d692f6ab65f7473a678dc7f992e279d6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"font-size: 28pt; color: #993300; font-family: \'JS Wansika\'\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 28pt; color: #993300; font-family: \'JS Wansika\'\" lang=\"TH\"></span></b></p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">รายงาน</span></strong> </span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff9900\">เรื่</span><span style=\"color: #ff9900\">อง ภูมิปัญญาไทย ด้านประกอบอาชีพ</span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\">เสนอ<br />\nครูวัชรี  กมลเสรีรัตน์</span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #993300\">จัดทำโดย<br />\n</span></span><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #008080\">1.น.ส.วรินฑิตา   บุษยเวคิน   เลขที่ 2<br />\n</span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #008080\">2.น.ส.อภิญญา  ไชยคำมิ่ง   เลขที่ 3<br />\n</span></span><span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #008080\">3.น.ส.พัชรพร  ด่านสุนทรวงศ์ เลขที่ 6<br />\n</span></span><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #008080\">4.น.ส.นีลวรรณ บุญลา     เลขที่ 14<br />\n</span></span><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #008080\">5.น.ส.นิศารัตน์ ไชยโย     เลขที่ 17<br />\n</span><span style=\"color: #ff00ff\">6.น.ส.มุฑิตา  นิลสมัย   เลขที่ 20</span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ffcc00\"><span style=\"color: #33cccc\">ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4<br />\n</span></span><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #99cc00\">ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552<br />\n</span><span style=\"color: #008080\">โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์</span><br />\n</span></strong></p>\n<hr id=\"null\" />\n\n\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff9900\">คำนำ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\">รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาสังคมศึกษา เนื้อหาทั้งหมดเป็นเรื่องเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย ด้านการประกอบอาชีพ จัดทำขึ้นเพื่อให้ทุกคนได้ศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยของเราในสมัยก่อนซึ่งภูมิปัญญาไทยของเราก็สืบทอดกันมาตั้งแต่รุ่นทวด ปู่ ย่า ตา ยาย พวกเขาเหล่านั้นก็ล้วนแต่ใช้สติปัญญาที่เขามีคิดหาวิธีการต่างๆในการสร้างออกแบบ การประกอบอาชีพ ทำมาหากินและการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมไทย<br />\nถ้ามีข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย<br />\n     </span><span style=\"color: #99cc00\">    คณะผู้จัดทำ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<hr id=\"null\" />\n\n\n<p><strong><span style=\"color: #ff6600\">สารบัญ</span></strong><strong> </strong></p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\">- ภูมิปัญญาไทย<br />\n- ภูมิปัญญาชาวบ้าน</span>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\">ภูมิปัญญาไทย</span><br />\n   ภูมิปัญญาไทย หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน ถือเป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาชีวิต ความเป็นอยู่ของประชาชน ทั้งทางสังคม และเศรษฐกิจ เนื่องจากภูมิปัญญาชาวบ้าน เกิดขึ้นจากความรอบรู้ ประสบการณ์ แนวคิดที่สังคม หรือชุมชนได้ถ่ายทอด สืบสานต่อกันมา ด้วยคนไทยแต่โบราณ มีภูมิปัญญาฉลาดล้ำลึก ในการประดิษฐ์คิดค้น สร้างสรรค์ เพื่อใช้ประโยชน์ จากสิ่งแวดล้อม แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น เพื่อการดำรงชีวิตอย่างสุขกาย สบายใจ โดยเฉพาะภูมิปัญญาด้านปัจจัยพื้นฐาน แห่งการดำรงชีพ ประกอบด้วยความสามารถ ในการแสวงหาอาหาร การปลูกสร้างที่อยู่อาศัย การคิดค้นประดิษฐ์สิ่งทอ เพื่อการนุ่งห่ม และความรู้ในการบำบัดรักษา โรคภัยไข้เจ็บ ซึ่งช่วยให้สังคมไทย นับแต่อดีตดำรงอยู่ได้อย่างสุขสงบ สืบถึงปัจจุบัน <br />\nภูมิปัญญาเหล่านี้เสริมสร้างคุณลักษณะแก่สังคมไทย ให้รู้จักการผ่อนสั้น ผ่อนยาว ผ่อนหนักให้เป็นเบา ผ่อนร้ายให้กลายเป็นดี มีความมัธยัสถ์อดออม จนเกิดเป็นความมั่นคงในทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ แบบพึ่งพาตนเอง ได้ในลักษณะแบบพอมีพอกิน สามารถนำทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้ เพื่อการพัฒนาประเทศ ได้อย่างคุ้มค่าที่สุด รวมไปจนถึงมี ระบบการจัดการด้านทรัพยากรดิน แร่ธาตุ ป่าไม้ แหล่งน้ำอย่างทรงประสิทธิภาพ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\">ภูมิปัญญาชาวบ้าน</span> <br />\nพื้นความรู้ความสามารถที่ได้รับการสั่งสมถ่ายทอดกันมา และนำมาปรับใช้รวมกับความรู้ และประสบการณ์ของตนเอง ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวบ้านในท้องถิ่น <br />\nภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการทำมาหากิน <br />\nภูมิปัญญาที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพต่าง ๆ เช่น การทำนา ทำสวน ทำไร่ จับสัตว์น้ำ ทอผ้า ค้าขาย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการรักษาโรค\n</p>\n<p>\nภูมิปัญญาที่ใช้ในการดูแลรักษา และแก้ปัญหาสุขภาพ เช่น การใช้สมุนไพรเป็นยาและอาหาร พืชสมุนไพร หมอพื้นบ้าน และการแพทย์แผนโบราณ\n</p>\n<p>\nภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการกินอยู่\n</p>\n<p>\nภูมิปัญญาที่ใช้ในการถนอมอาหาร การปรุงอาหาร การกินอาหาร\n</p>\n<p>\nภูมิปัญญาชาวบ้านด้านศิลปกรรม\n</p>\n<p>\nภูมิปัญญาที่ปรากฏในผลงานสร้างสรรค์ด้านจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และนาฏกรรม\n</p>\n<p>\nภูมิปัญญาชาวบ้านด้านภาษาและวรรณกรรม\n</p>\n<p>\nภูมิปัญญาที่ปรากฏในผลงานสร้างสรรค์ด้านภาษาและสำนวนไทย เช่น คำผญา คำสอน ความเชื่อ ปริศนาคำทาย และ บทเพลงพื้นบ้าน เช่น เพลงแหล่ เพลงกล่อมเด็ก เพลงฉ่อย กลอนลำ เพลงอีแซว เพลงเกี่ยวข้าว ฯลฯ\n</p>\n<p>\nภูมิปัญญาชาวบ้านด้านศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี\n</p>\n<p>\nภูมิปัญญาที่ใช้ในการปรับประยุกต์พิธีกรรมทางศาสนาเพื่อความมั่นคงของชุมชน ประเพณีเกี่ยวกับชีวิต ตั้งแต่เกิดจนตาย เช่น ประเพณีการเกิด การบวช การแต่งงาน การตาย ฯลฯ\n</p>\n<p>\nภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม\n</p>\n<p>\nภูมิปัญญาที่ใช้ในการจัดการทรัพยากรดิน น้ำ และป่าไม้ เช่น การสร้างเขื่อน เหมือง ฝาย การควบคุมคุณภาพน้ำ การป้องกัน น้ำท่วม การจัดการป่าไม้ เช่น การปลูกสวนป่า และการอนุรักษ์ป่า\n</p>\n<p>\nภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ความรู้ของชาวบ้าน ซึ่งเรียนรู้มาจากปู่ ย่า ตา ยาย ญาติพี่น้อง และความเฉลียวฉลาดของแต่ละคน หรือผู้มีความรู้ในหมู่บ้านในท้องถิ่นต่าง ๆ ภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นเรื่องการทำมาหากิน เช่น การจับปลา การจับสัตว์ การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การทอผ้า การทำเครื่องมือการเกษตร <br />\n       \n</p>\n<p>\nภูมิปัญญาเหล่านี้เป็นความรู้ความสามารถที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์และถ่ายทอดมาให้เรา มีวิธีการหลายอย่างที่ทำให้ความรู้เหล่านี้เกิดประโยชน์แก่สังคมปัจจุบัน คือ <br />\n        การอนุรักษ์ คือ การบำรุงรักษาสิ่งที่ดีงามไว้เช่น ประเพณีต่าง ๆ หัตถกรรม และคุณค่าหรือการปฏิบัติตนเพื่อความสัมพันธ์อันดีกับคนและสิ่งแวดล้อม <br />\n        การฟื้นฟู คือ การรื้อฟื้นสิ่งที่ดีงามที่หายไป เลิกไป หรือกำลังจะเลิก ให้กลับมาเป็นประโยชน์ เช่นการรื้อฟื้นดนตรีไทย <br />\n       การประยุกต์ คือ การปรับหรือการผสมผสานความรู้เก่ากับความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน ให้เหมาะสมกับสมัยใหม่ เช่น การใช้ยาสมุนไพรในโรงพยาบาล ประสานกับการรักษาสมัยใหม่ การทำพิธีบวชต้นไม้ เพื่อให้เกิดสำนึกการอนุรักษ์ธรรมชาติ รักษาป่ามากยิ่งขึ้น การประยุกต์ประเพณีการทำบุญข้าวเปลือกที่วัด มาเป็นการสร้างธนาคารข้าว เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ขาดแคลน <br />\n       \n</p>\n<p>\nการสร้างใหม่ คือ การค้นคิดใหม่ที่สัมพันธ์กับความรู้ดั้งเดิม เช่น การประดิษฐ์โปงลาง การคิดโครงการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน โดยอาศัยคุณค่าความเอื้ออาทรที่ชาวบ้านเคยมีต่อกันมาหารูปแบบใหม่ เช่น การสร้างธนาคารข้าว ธนาคารโคกระบือ การรวมกลุ่มแม่บ้าน เยาวชน เพื่อทำกิจกรรมกันอย่างมีระบบมากยิ่งขึ้น <br />\n       \n</p>\n<p>\nภูมิปัญญาเป็นความรู้ที่ประกอบไปด้วยคุณธรรม ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมนั้น ชีวิตของชาวบ้านไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วน ๆ หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กันทำมาหากิน การร่วมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี <br />\n       \n</p>\n<p>\nความรู้เป็นคุณธรรม เมื่อผู้คนใช้ความรู้นั้นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ความรู้เหล่านี้เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต เป็นแนวทาง หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของครอบครัว ความสัมพันธ์กับคนอื่น ความสัมพันธ์กับผู้ล่วงลับไปแล้ว กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และกับธรรมชาติ <br />\n       \n</p>\n<p>\nความรู้เรื่องทำมาหากินมีอยู่มาก เช่นการทำไร่ทำนา การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การจับปลา จับสัตว์ การผ้า ทั้งผ้าฝ้ายและผ้าไหม ซึ่งมีลวดลายที่สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อและความคิดของชาวบ้าน การทำเครื่องปั้นดินเผา การแกะสลักไม้และหิน ซึ่งจะพบได้จากโบราณสถานในพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<br />\n\n', created = 1728257327, expire = 1728343727, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d692f6ab65f7473a678dc7f992e279d6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภูมิปัญญาไทยด้านการประกอบอาชีพ

รูปภาพของ silaa17283


รายงาน

เรื่อง ภูมิปัญญาไทย ด้านประกอบอาชีพ

เสนอ
ครูวัชรี  กมลเสรีรัตน์

จัดทำโดย
1.น.ส.วรินฑิตา   บุษยเวคิน   เลขที่ 2
2.น.ส.อภิญญา  ไชยคำมิ่ง   เลขที่ 3
3.น.ส.พัชรพร  ด่านสุนทรวงศ์ เลขที่ 6
4.น.ส.นีลวรรณ บุญลา     เลขที่ 14
5.น.ส.นิศารัตน์ ไชยโย     เลขที่ 17
6.น.ส.มุฑิตา  นิลสมัย   เลขที่ 20

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์


คำนำ

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาสังคมศึกษา เนื้อหาทั้งหมดเป็นเรื่องเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย ด้านการประกอบอาชีพ จัดทำขึ้นเพื่อให้ทุกคนได้ศึกษาเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยของเราในสมัยก่อนซึ่งภูมิปัญญาไทยของเราก็สืบทอดกันมาตั้งแต่รุ่นทวด ปู่ ย่า ตา ยาย พวกเขาเหล่านั้นก็ล้วนแต่ใช้สติปัญญาที่เขามีคิดหาวิธีการต่างๆในการสร้างออกแบบ การประกอบอาชีพ ทำมาหากินและการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมไทย
ถ้ามีข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
     
    คณะผู้จัดทำ


สารบัญ

- ภูมิปัญญาไทย
- ภูมิปัญญาชาวบ้าน


ภูมิปัญญาไทย
   ภูมิปัญญาไทย หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน ถือเป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาชีวิต ความเป็นอยู่ของประชาชน ทั้งทางสังคม และเศรษฐกิจ เนื่องจากภูมิปัญญาชาวบ้าน เกิดขึ้นจากความรอบรู้ ประสบการณ์ แนวคิดที่สังคม หรือชุมชนได้ถ่ายทอด สืบสานต่อกันมา ด้วยคนไทยแต่โบราณ มีภูมิปัญญาฉลาดล้ำลึก ในการประดิษฐ์คิดค้น สร้างสรรค์ เพื่อใช้ประโยชน์ จากสิ่งแวดล้อม แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น เพื่อการดำรงชีวิตอย่างสุขกาย สบายใจ โดยเฉพาะภูมิปัญญาด้านปัจจัยพื้นฐาน แห่งการดำรงชีพ ประกอบด้วยความสามารถ ในการแสวงหาอาหาร การปลูกสร้างที่อยู่อาศัย การคิดค้นประดิษฐ์สิ่งทอ เพื่อการนุ่งห่ม และความรู้ในการบำบัดรักษา โรคภัยไข้เจ็บ ซึ่งช่วยให้สังคมไทย นับแต่อดีตดำรงอยู่ได้อย่างสุขสงบ สืบถึงปัจจุบัน
ภูมิปัญญาเหล่านี้เสริมสร้างคุณลักษณะแก่สังคมไทย ให้รู้จักการผ่อนสั้น ผ่อนยาว ผ่อนหนักให้เป็นเบา ผ่อนร้ายให้กลายเป็นดี มีความมัธยัสถ์อดออม จนเกิดเป็นความมั่นคงในทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ แบบพึ่งพาตนเอง ได้ในลักษณะแบบพอมีพอกิน สามารถนำทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้ เพื่อการพัฒนาประเทศ ได้อย่างคุ้มค่าที่สุด รวมไปจนถึงมี ระบบการจัดการด้านทรัพยากรดิน แร่ธาตุ ป่าไม้ แหล่งน้ำอย่างทรงประสิทธิภาพ

 

ภูมิปัญญาชาวบ้าน
พื้นความรู้ความสามารถที่ได้รับการสั่งสมถ่ายทอดกันมา และนำมาปรับใช้รวมกับความรู้ และประสบการณ์ของตนเอง ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวบ้านในท้องถิ่น
ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการทำมาหากิน
ภูมิปัญญาที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพต่าง ๆ เช่น การทำนา ทำสวน ทำไร่ จับสัตว์น้ำ ทอผ้า ค้าขาย

 

ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการรักษาโรค

ภูมิปัญญาที่ใช้ในการดูแลรักษา และแก้ปัญหาสุขภาพ เช่น การใช้สมุนไพรเป็นยาและอาหาร พืชสมุนไพร หมอพื้นบ้าน และการแพทย์แผนโบราณ

ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการกินอยู่

ภูมิปัญญาที่ใช้ในการถนอมอาหาร การปรุงอาหาร การกินอาหาร

ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านศิลปกรรม

ภูมิปัญญาที่ปรากฏในผลงานสร้างสรรค์ด้านจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และนาฏกรรม

ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านภาษาและวรรณกรรม

ภูมิปัญญาที่ปรากฏในผลงานสร้างสรรค์ด้านภาษาและสำนวนไทย เช่น คำผญา คำสอน ความเชื่อ ปริศนาคำทาย และ บทเพลงพื้นบ้าน เช่น เพลงแหล่ เพลงกล่อมเด็ก เพลงฉ่อย กลอนลำ เพลงอีแซว เพลงเกี่ยวข้าว ฯลฯ

ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี

ภูมิปัญญาที่ใช้ในการปรับประยุกต์พิธีกรรมทางศาสนาเพื่อความมั่นคงของชุมชน ประเพณีเกี่ยวกับชีวิต ตั้งแต่เกิดจนตาย เช่น ประเพณีการเกิด การบวช การแต่งงาน การตาย ฯลฯ

ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ภูมิปัญญาที่ใช้ในการจัดการทรัพยากรดิน น้ำ และป่าไม้ เช่น การสร้างเขื่อน เหมือง ฝาย การควบคุมคุณภาพน้ำ การป้องกัน น้ำท่วม การจัดการป่าไม้ เช่น การปลูกสวนป่า และการอนุรักษ์ป่า

ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึง ความรู้ของชาวบ้าน ซึ่งเรียนรู้มาจากปู่ ย่า ตา ยาย ญาติพี่น้อง และความเฉลียวฉลาดของแต่ละคน หรือผู้มีความรู้ในหมู่บ้านในท้องถิ่นต่าง ๆ ภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นเรื่องการทำมาหากิน เช่น การจับปลา การจับสัตว์ การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การทอผ้า การทำเครื่องมือการเกษตร
       

ภูมิปัญญาเหล่านี้เป็นความรู้ความสามารถที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์และถ่ายทอดมาให้เรา มีวิธีการหลายอย่างที่ทำให้ความรู้เหล่านี้เกิดประโยชน์แก่สังคมปัจจุบัน คือ
        การอนุรักษ์ คือ การบำรุงรักษาสิ่งที่ดีงามไว้เช่น ประเพณีต่าง ๆ หัตถกรรม และคุณค่าหรือการปฏิบัติตนเพื่อความสัมพันธ์อันดีกับคนและสิ่งแวดล้อม
        การฟื้นฟู คือ การรื้อฟื้นสิ่งที่ดีงามที่หายไป เลิกไป หรือกำลังจะเลิก ให้กลับมาเป็นประโยชน์ เช่นการรื้อฟื้นดนตรีไทย
       การประยุกต์ คือ การปรับหรือการผสมผสานความรู้เก่ากับความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน ให้เหมาะสมกับสมัยใหม่ เช่น การใช้ยาสมุนไพรในโรงพยาบาล ประสานกับการรักษาสมัยใหม่ การทำพิธีบวชต้นไม้ เพื่อให้เกิดสำนึกการอนุรักษ์ธรรมชาติ รักษาป่ามากยิ่งขึ้น การประยุกต์ประเพณีการทำบุญข้าวเปลือกที่วัด มาเป็นการสร้างธนาคารข้าว เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ขาดแคลน
       

การสร้างใหม่ คือ การค้นคิดใหม่ที่สัมพันธ์กับความรู้ดั้งเดิม เช่น การประดิษฐ์โปงลาง การคิดโครงการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน โดยอาศัยคุณค่าความเอื้ออาทรที่ชาวบ้านเคยมีต่อกันมาหารูปแบบใหม่ เช่น การสร้างธนาคารข้าว ธนาคารโคกระบือ การรวมกลุ่มแม่บ้าน เยาวชน เพื่อทำกิจกรรมกันอย่างมีระบบมากยิ่งขึ้น
       

ภูมิปัญญาเป็นความรู้ที่ประกอบไปด้วยคุณธรรม ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมนั้น ชีวิตของชาวบ้านไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วน ๆ หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กันทำมาหากิน การร่วมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี
       

ความรู้เป็นคุณธรรม เมื่อผู้คนใช้ความรู้นั้นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ ความรู้เหล่านี้เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต เป็นแนวทาง หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของครอบครัว ความสัมพันธ์กับคนอื่น ความสัมพันธ์กับผู้ล่วงลับไปแล้ว กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และกับธรรมชาติ
       

ความรู้เรื่องทำมาหากินมีอยู่มาก เช่นการทำไร่ทำนา การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การจับปลา จับสัตว์ การผ้า ทั้งผ้าฝ้ายและผ้าไหม ซึ่งมีลวดลายที่สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อและความคิดของชาวบ้าน การทำเครื่องปั้นดินเผา การแกะสลักไม้และหิน ซึ่งจะพบได้จากโบราณสถานในพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ



รูปภาพของ silavacharee

Kiss

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 388 คน กำลังออนไลน์