• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e639cfa7de23d7ea6169cf35d940b9b1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>บทที่ 1<br />\nบทนำ </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา </strong>\n</p>\n<blockquote><blockquote><blockquote><blockquote><blockquote><blockquote><p>\n          น้ำ เป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต  เราทุกคนนำน้ำมาใช้ทั้งในการอุปโภคและบริโภค  ปัจจุบันสังคมไทยเป็นสังคมอุตสาหกรรม  โดยมีโรงงานและอุตสาหกรรมเกิดขึ้นมากมาย  ผลที่ตามมาก็คือน้ำที่ใช้แล้วก็จะถูกปล่อยทิ้งออกสู่แหล่งน้ำธรรมชาติอีกครั้งหนึ่งระบบหมุนเวียนดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดปัญหาขึ้น  เมื่อน้ำถูกนำมาใช้ในอัตราสูงและถูกปล่อยทิ้งลงสู่แหล่งน้ำในลักษณะของน้ำเสียที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถที่แหล่งน้ำธรรมชาติจะปรับตัวได้ทัน ในที่สุดก็กลายเป็นน้ำเน่าเสียสิ่งมีชีวิตที่เคยอาศัยอยู่ในน้ำก็ไม่อาจดำรงชีวิตอยู่ต่อไปได้อีก<br />\n น้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมหลาย ๆ ประเภท อาทิโรงงานแบตเตอรี่ โรงงานชุบโลหะ อุตสาหกรรมสี น้ำทิ้งจากเหมืองสังกะสี หรือ น้ำทิ้งจากอุตสาหกรรมพลาสติก เป็นต้น จะมีตะกั่วและแคดเมียมเป็นโลหะหนักที่เป็นสารพิษอันตรายอย่างสูงต่อสิ่งมีชีวิตที่มักพบปนเปื้อนมากับน้ำเสียจากโรงงานดังกล่าว หากร่างกายได้รับสารตะกั่วเข้าไปสะสมเป็นจำนวนมาก จะทำให้เกิดโรคโลหิตจาง กล้ามเนื้ออ่อนแรงจนอาจทำให้เป็นอัมพาตได้ ส่วนแคดเมียมจะสะสมในกระดูกและไตทำให้เกิดโรคอิไตอิไต<br />\n จากการศึกษาเปลือกไข่และเถ้าแกลบดำ พบว่า  มีองค์ประกอบที่มีความพรุนสูง ซึ่งช่วยระบายความชื้นและรับอากาศเข้าไป  เอื้ออำนวยให้โลหะหนักมาเกาะติดที่ผิว  คณะผู้จัดทำจึงได้จัดทำการทดลองการใช้เปลือกไข่และเถ้าแกลบดำดูดซับแคดเมียมและตะกั่วในน้ำเสีย  ซึ่งเป็นโลหะหนักดังกล่าวข้างต้น  เพื่อช่วยลดการทำลายระบบนิเวศแหล่งน้ำในชุมชนและเปลี่ยนสภาพน้ำเสียให้อยู่ในสภาพที่สามารถนำกลับมาใช้ได้\n </p>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n<p>\n<strong>วัตถุประสงค์ของการวิจัย </strong>\n</p>\n<p>\n        1. ศึกษาการใช้เปลือกไข่และเถ้าแกลบดำในการบำบัดน้ำเสียที่มีแคดเมียมและตะกั่วเจือปน<br />\n        2. เพื่อทดลองการดูดซับแคดเมียมและของเปลือกไข่และเถ้าแกลบดำ\n</p>\n<p>\n<strong>สมมติฐานการวิจัย</strong>\n</p>\n<p>\n       ถ้าเปลือกไข่และเถ้าแกลบดำสามารถดูดซับสารแคดเมียมและตะกั่วในน้ำได้  แล้วน้ำเสียจะมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น 60 %\n</p>\n<p>\n<strong>ขอบเขตในการวิจัย <br />\n</strong>        1. การกำหนดประชากร ได้แก่  น้ำเสียจากท่อน้ำทิ้งของโรงงาน  เช่น โรงงานแบตเตอรี่  โรงงานชุบโลหะ อุตสาหกรรมสี หรือน้ำทิ้งจากอุตสาหกรรมพลาสติก <br />\nกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา  คือ  น้ำที่มีสารแคดเมียมและตะกั่วเจือปน\n</p>\n<p>\n<br />\n       2. ตัวแปรที่ศึกษา  <br />\n             ตัวแปรต้น        การใช้เปลือกไข่และเถ้าแกลบดำกรองสารแคดเมียมและตะกั่ว<br />\n             ตัวแปรตาม ค่า pH ของน้ำ <br />\n             ตัวแปรควบคุม ปริมาณเปลือกไข่  เถ้าแกลบดำ  แคดเมียม  ตะกั่ว  และน้ำ\n</p>\n<p>\n<br />\n       3. ขอบเขตของเนื้อหา<br />\n           การวิเคราะห์น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม  ตรวจสอบได้โดย<br />\n              3.1  ค่า pH  ของน้ำ<br />\n              3.2  ค่า  COD  หรือ  Chemical  Oxygen  Demand  คือ  ปริมาณออกซิเจนทั้งหมด<br />\n           ที่ต้องการเพื่อใช้ในการออกซิไดซ์สารอินทรีย์ในน้ำเสียให้กลายเป็นคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ <br />\n              3.3  ค่า  BOD  หรือ  Biochemical  Oxygen  Demand  คือ  ปริมาณออกซิเจนที่<br />\n           แบคทีเรียใช้ในการย่อยสารอินทรีย์ชนิดที่ย่อยสลายภายใต้สภาวะที่มี ออกซิเจน  เป็นการวิเคราะห์เพื่อที่จะทราบถึงปริมาณความสกปรกของน้ำ   โดยในโครงงานนี้  ผู้จัดทำได้เลือกวิธีการตรวจสอบน้ำเสียด้วยการหาค่า pH  ซึ่งเป็นวิธีที่รวดเร็วและสะดวกกว่า  เพราะเนื่องจากเวลาและอุปกรณ์ที่ผู้จัดทำมีไม่เอื้ออำนวยในการตรวจสอบหาค่า COD และ BOD<br />\n  \n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>คำจำกัดความที่ใช้ในการวิจัย<br />\n</strong> <br />\n         ตะกั่ว  (Lead)  หมายถึง โลหะสีเทาเงิน หรือแกมน้ำเงินเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมีคุณสมบัติที่อ่อนตัวสามารถดัดเป็นรูปร่างต่าง ๆ  ได้ทำให้ถูกใช้ประโยชน์มากมาย  สารตะกั่วนี้สามารถอยู่ในอากาศ น้ำ ดิน  สารตะกั่วเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ได้ด้วยการบริโภคอาหาร น้ำ หรือหายใจ เอาอากาศที่มีสารตะกั่วเจือปนเข้าไป  ในบางกรณีร่างกายอาจดูดซึมตะกั่วอินทรีย์ที่ไม่ใช่สารตะกั่ว ในบรรยากาศเข้าทางผิวหนังได้  ซึ่งเป็นสารที่อันตรายต่อสุขภาพมาก ( กลุ่มวิเทศสัมพันธ์สิ่งแวดล้อม  สำนักเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมโรงงาน, )<br />\n แคดเมียม หมายถึง โลหะหนักที่ได้จากการถลุงแร่   มีสีน้ำเงินแกมขาว  มีคุณสมบัติเบา  อ่อนดัดโค้งได้ง่ายและทนต่อการกัดกร่อน  แคดเมียมที่อยู่ในแร่จะอยู่ในรูปของสารประกอบ เช่น แคดเมียมออกไซด์ แคดเมียมคลอไรด์ แคดเมียมซัลเฟต แคดเมียมซัลไฟท์  เป็นต้น ไม่มีกลิ่นหรือรสที่แน่นอน  แคดเมียมยังเป็นธาตุที่ไม่ละลายน้ำ  แต่ละลายได้ดีกรดไนทริก  ( HNO3 ) และกรกไฮโดรคลอริก ( HCl )  เจือจางซึ่งจะทำให้เป็นอันตรายกับคนแบบเฉียบพลันเมื่อรับประทานเข้าไป  การหายใจในอากาศที่มีแคดเมี่ยมปนอยู่สูงจะเป็นอันตรายต่อปอดและเสียชีวิตได้  การรับประทานอาหารและดื่มน้ำที่มีแคดเมี่ยมปนเปื้อนอยู่ในปริมาณสูงมากจะกัดกร่อนกระเพาะ ทำให้อาเจียน และท้องเสีย  การได้รับแคดเมี่ยมทีละน้อยจากอากาศ น้ำ และอาหาร เป็นเวลานาน ทำให้เกิดการสะสมแคดเมี่ยมในไต อาจจะทำให้เป็นโรคไตได้ อาจทำให้ปอดเสียและกระดูกเปราะ  ( โครงการเคมี กรมวิทยาศาสตร์บริการ.2551 )<br />\nน้ำเสีย  หมายถึง  น้ำที่มีสิ่งเจือปนต่าง ๆ มากมาย จนกระทั่งกลายเป็นน้ำที่ไม่เป็นที่ตองการและน่ารังเกียจของคนทั่วไป น้ำเสียก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ แก่แหล่งน้ำนั้น ๆ เช่น ทำให้น้ำเน่าเหม็นหรือเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ  น้ำเสีย แบ่งออกได้เป็น 4  ลักษณะตามสภาพของน้ำเสีย ดังนี้<br />\n           1.   ลักษณะทางกายภาพ คือสภาพหรือสภาวะของน้ำที่มองเห็นได้หรือสัมผัสได้ เช่น มี ขยะและสิ่งปฏิกูล ความขุ่น สี กลิ่น รส และอุณหภูมิที่ผิดปกติ<br />\n           2.   ลักษณะทางเคมี คือมีสารประกอบ ทั้งอนินทรีย์และอินทรีย์ต่าง ๆละลายเจือปนอยู่ในน้ำ ทำให้น้ำมีความเป็นกรด-เป็นด่างเกินปกติ หรือมีโลหะทั้งที่เป็นพิษและไม่เป็นพิษรวมทั้ง<br />\nมีสารอินทรีย์เกินกว่าปกติ<br />\n           3.   ลักษณะทางชีวภาพ คือการปนเปื้อนของสิ่งมีชีวิตเล็กๆ เช่น แบคทีเรีย เชื้อไวรัส โปรโตชัว และหนอน อันทำให้เกิดโรคต่าง ๆ ที่มีน้ำเป็นสื่อหรือเป็นพาหนะในคนและสัตว์<br />\n          4.   ลักษณะทางสารกัมนันตภาพรังสี คือ มีการปนเปื้อนของสารมนันตภาพรังสี ซึ่งสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง เช่น ทางผิวหนัง การหายใจ ฯลฯ ทำให้เป็นอันตรายต่อร่างกายของผู้ได้รับรังสี\n</p>\n<p>\n<br />\n         กระบวนการดูดซับ (Adsorption Process) หมายถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการสะสมตัวของสาร หรือความเข้มข้นของสารที่บริเวณพื้นผิวหรือระหว่างผิวหน้า (interface) กระบวนการนี้สามารถเกิดที่บริเวณผิวสัมผัสระหว่าง 2 สภาวะใด ๆ เช่น ของเหลวกับของเหลว ก๊าซกับของเหลว ก๊าซกับของแข็ง หรือของเหลวกับของแข็ง โดยโมเลกุลหรือคอลลอยด์ที่ถูกดูดจับเรียกว่า สารถูกดูดซับ (adsorbate) ส่วนสารที่ทำหน้าที่ดูดซับเรียกว่า สารดูดซับ (adsorbent)  (PradThaNa P.2551)\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ</strong>\n</p>\n<p>\n          1.   น้ำมีปริมาณสารแคดเมียมและตะกั่วลดลง<br />\n          2.   น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นจากค่า pH ที่เพิ่มขึ้น<br />\n          3.   น้ำที่ถูกกรองแล้วสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป\n</p>\n', created = 1719645779, expire = 1719732179, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e639cfa7de23d7ea6169cf35d940b9b1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:554b401b3d643a8ee391d002329646ab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>บทที่ 1<br />\nบทนำ </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา </strong>\n</p>\n<blockquote><blockquote><blockquote><blockquote><blockquote><blockquote><p>\n          น้ำ เป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต  เราทุกคนนำน้ำมาใช้ทั้งในการอุปโภคและบริโภค  ปัจจุบันสังคมไทยเป็นสังคมอุตสาหกรรม  โดยมีโรงงานและอุตสาหกรรมเกิดขึ้นมากมาย  ผลที่ตามมาก็คือน้ำที่ใช้แล้วก็จะถูกปล่อยทิ้งออกสู่แหล่งน้ำธรรมชาติอีกครั้งหนึ่งระบบหมุนเวียนดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดปัญหาขึ้น  เมื่อน้ำถูกนำมาใช้ในอัตราสูงและถูกปล่อยทิ้งลงสู่แหล่งน้ำในลักษณะของน้ำเสียที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถที่แหล่งน้ำธรรมชาติจะปรับตัวได้ทัน ในที่สุดก็กลายเป็นน้ำเน่าเสียสิ่งมีชีวิตที่เคยอาศัยอยู่ในน้ำก็ไม่อาจดำรงชีวิตอยู่ต่อไปได้อีก<br />\n น้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมหลาย ๆ ประเภท อาทิโรงงานแบตเตอรี่ โรงงานชุบโลหะ อุตสาหกรรมสี น้ำทิ้งจากเหมืองสังกะสี หรือ น้ำทิ้งจากอุตสาหกรรมพลาสติก เป็นต้น จะมีตะกั่วและแคดเมียมเป็นโลหะหนักที่เป็นสารพิษอันตรายอย่างสูงต่อสิ่งมีชีวิตที่มักพบปนเปื้อนมากับน้ำเสียจากโรงงานดังกล่าว หากร่างกายได้รับสารตะกั่วเข้าไปสะสมเป็นจำนวนมาก จะทำให้เกิดโรคโลหิตจาง กล้ามเนื้ออ่อนแรงจนอาจทำให้เป็นอัมพาตได้ ส่วนแคดเมียมจะสะสมในกระดูกและไตทำให้เกิดโรคอิไตอิไต<br />\n จากการศึกษาเปลือกไข่และเถ้าแกลบดำ พบว่า  มีองค์ประกอบที่มีความพรุนสูง ซึ่งช่วยระบายความชื้นและรับอากาศเข้าไป  เอื้ออำนวยให้โลหะหนักมาเกาะติดที่ผิว  คณะผู้จัดทำจึงได้จัดทำการทดลองการใช้เปลือกไข่และเถ้าแกลบดำดูดซับแคดเมียมและตะกั่วในน้ำเสีย  ซึ่งเป็นโลหะหนักดังกล่าวข้างต้น  เพื่อช่วยลดการทำลายระบบนิเวศแหล่งน้ำในชุมชนและเปลี่ยนสภาพน้ำเสียให้อยู่ในสภาพที่สามารถนำกลับมาใช้ได้\n </p>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</blockquote>\n<p>\n<strong>วัตถุประสงค์ของการวิจัย </strong>\n</p>\n<p>\n        1. ศึกษาการใช้เปลือกไข่และเถ้าแกลบดำในการบำบัดน้ำเสียที่มีแคดเมียมและตะกั่วเจือปน<br />\n        2. เพื่อทดลองการดูดซับแคดเมียมและของเปลือกไข่และเถ้าแกลบดำ\n</p>\n<p>\n<strong>สมมติฐานการวิจัย</strong>\n</p>\n<p>\n       ถ้าเปลือกไข่และเถ้าแกลบดำสามารถดูดซับสารแคดเมียมและตะกั่วในน้ำได้  แล้วน้ำเสียจะมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น 60 %\n</p>\n<p>\n<strong>ขอบเขตในการวิจัย <br />\n</strong>        1. การกำหนดประชากร ได้แก่  น้ำเสียจากท่อน้ำทิ้งของโรงงาน  เช่น โรงงานแบตเตอรี่  โรงงานชุบโลหะ อุตสาหกรรมสี หรือน้ำทิ้งจากอุตสาหกรรมพลาสติก <br />\nกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา  คือ  น้ำที่มีสารแคดเมียมและตะกั่วเจือปน\n</p>\n<p>\n<br />\n       2. ตัวแปรที่ศึกษา  <br />\n             ตัวแปรต้น        การใช้เปลือกไข่และเถ้าแกลบดำกรองสารแคดเมียมและตะกั่ว<br />\n             ตัวแปรตาม ค่า pH ของน้ำ <br />\n             ตัวแปรควบคุม ปริมาณเปลือกไข่  เถ้าแกลบดำ  แคดเมียม  ตะกั่ว  และน้ำ\n</p>\n<p>\n<br />\n       3. ขอบเขตของเนื้อหา<br />\n           การวิเคราะห์น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม  ตรวจสอบได้โดย<br />\n              3.1  ค่า pH  ของน้ำ<br />\n              3.2  ค่า  COD  หรือ  Chemical  Oxygen  Demand  คือ  ปริมาณออกซิเจนทั้งหมด<br />\n           ที่ต้องการเพื่อใช้ในการออกซิไดซ์สารอินทรีย์ในน้ำเสียให้กลายเป็นคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ <br />\n              3.3  ค่า  BOD  หรือ  Biochemical  Oxygen  Demand  คือ  ปริมาณออกซิเจนที่<br />\n           แบคทีเรียใช้ในการย่อยสารอินทรีย์ชนิดที่ย่อยสลายภายใต้สภาวะที่มี ออกซิเจน  เป็นการวิเคราะห์เพื่อที่จะทราบถึงปริมาณความสกปรกของน้ำ   โดยในโครงงานนี้  ผู้จัดทำได้เลือกวิธีการตรวจสอบน้ำเสียด้วยการหาค่า pH  ซึ่งเป็นวิธีที่รวดเร็วและสะดวกกว่า  เพราะเนื่องจากเวลาและอุปกรณ์ที่ผู้จัดทำมีไม่เอื้ออำนวยในการตรวจสอบหาค่า COD และ BOD<br />\n  \n</p>\n<p></p>', created = 1719645779, expire = 1719732179, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:554b401b3d643a8ee391d002329646ab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โครงงาน+บทที่1

บทที่ 1
บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

         น้ำ เป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต  เราทุกคนนำน้ำมาใช้ทั้งในการอุปโภคและบริโภค  ปัจจุบันสังคมไทยเป็นสังคมอุตสาหกรรม  โดยมีโรงงานและอุตสาหกรรมเกิดขึ้นมากมาย  ผลที่ตามมาก็คือน้ำที่ใช้แล้วก็จะถูกปล่อยทิ้งออกสู่แหล่งน้ำธรรมชาติอีกครั้งหนึ่งระบบหมุนเวียนดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดปัญหาขึ้น  เมื่อน้ำถูกนำมาใช้ในอัตราสูงและถูกปล่อยทิ้งลงสู่แหล่งน้ำในลักษณะของน้ำเสียที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถที่แหล่งน้ำธรรมชาติจะปรับตัวได้ทัน ในที่สุดก็กลายเป็นน้ำเน่าเสียสิ่งมีชีวิตที่เคยอาศัยอยู่ในน้ำก็ไม่อาจดำรงชีวิตอยู่ต่อไปได้อีก
น้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมหลาย ๆ ประเภท อาทิโรงงานแบตเตอรี่ โรงงานชุบโลหะ อุตสาหกรรมสี น้ำทิ้งจากเหมืองสังกะสี หรือ น้ำทิ้งจากอุตสาหกรรมพลาสติก เป็นต้น จะมีตะกั่วและแคดเมียมเป็นโลหะหนักที่เป็นสารพิษอันตรายอย่างสูงต่อสิ่งมีชีวิตที่มักพบปนเปื้อนมากับน้ำเสียจากโรงงานดังกล่าว หากร่างกายได้รับสารตะกั่วเข้าไปสะสมเป็นจำนวนมาก จะทำให้เกิดโรคโลหิตจาง กล้ามเนื้ออ่อนแรงจนอาจทำให้เป็นอัมพาตได้ ส่วนแคดเมียมจะสะสมในกระดูกและไตทำให้เกิดโรคอิไตอิไต
จากการศึกษาเปลือกไข่และเถ้าแกลบดำ พบว่า  มีองค์ประกอบที่มีความพรุนสูง ซึ่งช่วยระบายความชื้นและรับอากาศเข้าไป  เอื้ออำนวยให้โลหะหนักมาเกาะติดที่ผิว  คณะผู้จัดทำจึงได้จัดทำการทดลองการใช้เปลือกไข่และเถ้าแกลบดำดูดซับแคดเมียมและตะกั่วในน้ำเสีย  ซึ่งเป็นโลหะหนักดังกล่าวข้างต้น  เพื่อช่วยลดการทำลายระบบนิเวศแหล่งน้ำในชุมชนและเปลี่ยนสภาพน้ำเสียให้อยู่ในสภาพที่สามารถนำกลับมาใช้ได้

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

        1. ศึกษาการใช้เปลือกไข่และเถ้าแกลบดำในการบำบัดน้ำเสียที่มีแคดเมียมและตะกั่วเจือปน
        2. เพื่อทดลองการดูดซับแคดเมียมและของเปลือกไข่และเถ้าแกลบดำ

สมมติฐานการวิจัย

       ถ้าเปลือกไข่และเถ้าแกลบดำสามารถดูดซับสารแคดเมียมและตะกั่วในน้ำได้  แล้วน้ำเสียจะมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น 60 %

ขอบเขตในการวิจัย
        1. การกำหนดประชากร ได้แก่  น้ำเสียจากท่อน้ำทิ้งของโรงงาน  เช่น โรงงานแบตเตอรี่  โรงงานชุบโลหะ อุตสาหกรรมสี หรือน้ำทิ้งจากอุตสาหกรรมพลาสติก
กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา  คือ  น้ำที่มีสารแคดเมียมและตะกั่วเจือปน


       2. ตัวแปรที่ศึกษา 
             ตัวแปรต้น        การใช้เปลือกไข่และเถ้าแกลบดำกรองสารแคดเมียมและตะกั่ว
             ตัวแปรตาม ค่า pH ของน้ำ
             ตัวแปรควบคุม ปริมาณเปลือกไข่  เถ้าแกลบดำ  แคดเมียม  ตะกั่ว  และน้ำ


       3. ขอบเขตของเนื้อหา
           การวิเคราะห์น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม  ตรวจสอบได้โดย
              3.1  ค่า pH  ของน้ำ
              3.2  ค่า  COD  หรือ  Chemical  Oxygen  Demand  คือ  ปริมาณออกซิเจนทั้งหมด
           ที่ต้องการเพื่อใช้ในการออกซิไดซ์สารอินทรีย์ในน้ำเสียให้กลายเป็นคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ
              3.3  ค่า  BOD  หรือ  Biochemical  Oxygen  Demand  คือ  ปริมาณออกซิเจนที่
           แบคทีเรียใช้ในการย่อยสารอินทรีย์ชนิดที่ย่อยสลายภายใต้สภาวะที่มี ออกซิเจน  เป็นการวิเคราะห์เพื่อที่จะทราบถึงปริมาณความสกปรกของน้ำ   โดยในโครงงานนี้  ผู้จัดทำได้เลือกวิธีการตรวจสอบน้ำเสียด้วยการหาค่า pH  ซึ่งเป็นวิธีที่รวดเร็วและสะดวกกว่า  เพราะเนื่องจากเวลาและอุปกรณ์ที่ผู้จัดทำมีไม่เอื้ออำนวยในการตรวจสอบหาค่า COD และ BOD
  

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 253 คน กำลังออนไลน์