• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:39497f95e65278f45bb83d34b3762a61' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #000000\">ระบบประสาท<br />\n( Nervous System )<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\">  ระบบประสาท</span> คือ ระบบที่ประกอบด้วย <span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">Brain(สมอง)</span></span> , <span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">Spinal cord ( ไขสันหลัง )</span></span><br />\nรวมทั้งเส้นประสาทต่างๆ เพื่อเป็นวิถีติดต่อให้ร่างกายส่วนต่างๆ<br />\nทำการเปลี่ยนแปลงร่วมกันตามแต่เหตุการณ์ ซึ่งเกิดขึ้นจากภายนอกร่างกาย<br />\nหรือมีหน้าที่สั่งบังคับ หรือควบคุมกิจการทั้งหลายของทุกๆระบบในร่างกาย<br />\nและมีศูนย์กลางเกี่ยวกับความรู้สึก สติปัญญาและความคิด<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #333333\">เราจะเปรียบระบบนี้ได้กับ Telephone system เพราะมีศูนย์กลางคอยรับความรู้สึกต่างๆ และ คอยออกคำสั่ง หรือ บงการ  ได้แก่ </span><span style=\"color: #ff0000\">Brain(สมอง) <span style=\"color: #333333\">และ</span>  </span><span style=\"color: #ff0000\">Spinal cord( ไขสันหลัง )  <span style=\"color: #333333\"> แล้วความรู้สึก  หรือ  คำสั่งเหล่านี้ก็ไปตามสายโทรศัพท์ซึ่งได้แก่ <span style=\"color: #ff0000\">      nerves         ( เส้นประสาท )   <span style=\"color: #333333\">ที่<br />\nกระจายไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกายหรือจะเปรียบร่างกายคนเราเหมือนโรงงานใหญ่<br />\nซึ่งต้องมีการติดต่ิอซึ่งกันและกันเป็นอย่างดีงานจึงจะสำเร็จไปได้ด้วยความ<br />\nเรียบร้อย และได้รับผลดี  ฉันใดก็ดีส่วนต่างๆ<br />\nของร่างกายมนุษย์ก็ต้องมีการติดต่อเกี่ยวข้องซึ่งกันแล้วกัน เพราะฉะนั้น <br />\nอวัยวะที่จะช่วยทำการติดต่อส่วนต่างๆ ของร่างกายให้ทำงานร่วมกันได้ <br />\nNervous System นี้ </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\">ระบบประสาทแบ่งออกเป็น 3 ส่วน  คือ  ระบบประสาทส่วนกลาง  ระบบประสาทส่วนปลาย  ระบบประสาทอัตโนมัติ </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\">            <span style=\"color: #0000ff\">ระบบประสาทส่วนกลาง ( Central  Nervous System ) </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><br />\nระบบประสาทส่วนกลางประกอบด้วย สมอง <span style=\"color: #ff0000\">( Brain )</span> , <span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\">ไขสันหลัง <span style=\"color: #ff0000\">(</span></span></span> <span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">Spinal cord</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"> </span></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">) เป็นศุนย์กลางควบคุมและประสานการทำงานของร่างกายทั้งหมด </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\"> <br />\n1. สมอง ( Brain )  บรรจุอยู่ภายในกระโหลกศรีษะ  แบ่งเป็น  2 ชั้น  คือ <br />\nสมองชั้นนอก  เรียกว่า เนื้อเทา ( Gray Matter ) และสมองชั้นใน </span>  </span><span style=\"color: #ff00ff\">เรียกว่า  เนื้อขาว  ( White Metter ) ซึ่งสมองแบ่งออกเป็น  3  ส่วน </span></span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/ADMINI%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot.jpg\" /><img src=\"http://www.promma.ac.th/biology/web2/scan0017.jpg\" alt=\"http://www.promma.ac.th/biology/web2/scan0017.jpg\" width=\"612\" height=\"392\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\">1.1 สมองส่วนหน้า ( Forebrain )<br />\nประกอบด้วยเซรีบรัม ( Cerebrum ) ทำหน้าที่ด้วนความทรงจำ  ความฉลาด<br />\nไหวพริบ  เป็นศูนย์รับความรู้สึกในการมองเห็น การได้ยิน  การได้กลิ่น <br />\nและ  การรับรส , ทาลามัส ( Thalamus )<br />\nเป็นศูนย์รับและถ่ายทอดความรู้สึกไปยัง     </span><span style=\"color: #ff6600\">เซ<br />\nรีบรัม , ไฮโปทาลามัส ( Hypothnalamus )<br />\nเป็นศูนย์ควบคุมอุณหภูิมิของร่างกาย  การเต้นของหัวใจ  ความดันเลือด <br />\nความหิว การนอนหลับ การหลั่งฮอร์โมนของต่ิอมไร้ท่อ<br />\nการหลั่งน้ำย่อยจากกระเพาะอาหาร <br />\nความสมดุลของน้ำในร่างกายและการแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกต่างๆ</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #008000\">1.2 สมองส่วนกลาง ( Midbrain ) ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของลูกตา และ ม่านตา </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #333399\">1.3  </span><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #333399\">สมอง<br />\nส่วนท้าย ( Hindbrain ) ประกอบด้วย  เซรีเบลลัม ( Cerebellum )<br />\nทำหน้าที่ในการดูแลการทำงานของส่วนต่างๆ <br />\nในร่างกายและระบบกล้ามเนื้อต่างๆ <br />\nให้ประสานสัมพันธ์กันควบคุมการทรงตัวของร่างกาย , พอนส์ ( Pons )<br />\nทำหน้าที่ควบคุมการเคี้ยวอาหาร การหลั่งน้ำลาย  การหายใจ การฟัง <br />\nการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าและเป็นสะพานเชื่อมระหว่างสมองกับไข<br />\nสันหลัง มีก้านสมองส่วนท้าย ( Medulla Oblongata )<br />\nทำหน้าที่เป็นศูนย์ควมคุมการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติต่างๆ  เช่น <br />\nการหายใจ  การไหลเวียนโลหิต  การเต้นของหัวใจ  การไอ  การจาม  การกลืน <br />\nเป็นต้น </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #800080\">2. <span style=\"color: #800080\">ไขสันหลัง ( </span></span></span> <span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff0000\">Spinal cord</span></span><span style=\"color: #800080\">  )</span> เป็น<br />\nส่วนที่ต่อก้านสมองส่วนท้าย ลงไปตามแนวช่องกระดูกสันหลัง <br />\nทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมในการรับกระแสประสาทจากส่วนต่างๆ <br />\nของร่างกายส่งต่อไปยังสมองและรับจากสมองส่งไปยังอวัยวะต่างๆ  ของร่างกาย <br />\nนอกจากนี้ยังควบคุมปฏิกิริยาตอบสนองสิ่งเร้าอย่างกะทันหัน<br />\nโดนไม่ต้องรอคำสั่งจากสมองหรือที่เรียกว่า  ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์  (  Reflex<br />\nAction ) เช่น  เมื่อมือไปถูกของร้อนๆ จะกระตุกมือหนีทันที เป็นต้น</span><br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"http://mail.vcharkarn.com/uploads/28/28589.jpg\" style=\"cursor: -moz-zoom-in\" alt=\"http://mail.vcharkarn.com/uploads/28/28589.jpg\" width=\"442\" height=\"369\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727775360, expire = 1727861760, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:39497f95e65278f45bb83d34b3762a61' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบประสาท

ระบบประสาท
( Nervous System )

  ระบบประสาท คือ ระบบที่ประกอบด้วย Brain(สมอง) , Spinal cord ( ไขสันหลัง )
รวมทั้งเส้นประสาทต่างๆ เพื่อเป็นวิถีติดต่อให้ร่างกายส่วนต่างๆ
ทำการเปลี่ยนแปลงร่วมกันตามแต่เหตุการณ์ ซึ่งเกิดขึ้นจากภายนอกร่างกาย
หรือมีหน้าที่สั่งบังคับ หรือควบคุมกิจการทั้งหลายของทุกๆระบบในร่างกาย
และมีศูนย์กลางเกี่ยวกับความรู้สึก สติปัญญาและความคิด

เราจะเปรียบระบบนี้ได้กับ Telephone system เพราะมีศูนย์กลางคอยรับความรู้สึกต่างๆ และ คอยออกคำสั่ง หรือ บงการ  ได้แก่ Brain(สมอง) และ  Spinal cord( ไขสันหลัง )   แล้วความรู้สึก  หรือ  คำสั่งเหล่านี้ก็ไปตามสายโทรศัพท์ซึ่งได้แก่       nerves         ( เส้นประสาท )   ที่
กระจายไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกายหรือจะเปรียบร่างกายคนเราเหมือนโรงงานใหญ่
ซึ่งต้องมีการติดต่ิอซึ่งกันและกันเป็นอย่างดีงานจึงจะสำเร็จไปได้ด้วยความ
เรียบร้อย และได้รับผลดี  ฉันใดก็ดีส่วนต่างๆ
ของร่างกายมนุษย์ก็ต้องมีการติดต่อเกี่ยวข้องซึ่งกันแล้วกัน เพราะฉะนั้น 
อวัยวะที่จะช่วยทำการติดต่อส่วนต่างๆ ของร่างกายให้ทำงานร่วมกันได้ 
Nervous System นี้

ระบบประสาทแบ่งออกเป็น 3 ส่วน  คือ  ระบบประสาทส่วนกลาง  ระบบประสาทส่วนปลาย  ระบบประสาทอัตโนมัติ

            ระบบประสาทส่วนกลาง ( Central  Nervous System ) 


ระบบประสาทส่วนกลางประกอบด้วย สมอง ( Brain ) , ไขสันหลัง ( Spinal cord ) เป็นศุนย์กลางควบคุมและประสานการทำงานของร่างกายทั้งหมด

 
1. สมอง ( Brain )  บรรจุอยู่ภายในกระโหลกศรีษะ  แบ่งเป็น  2 ชั้น  คือ 
สมองชั้นนอก  เรียกว่า เนื้อเทา ( Gray Matter ) และสมองชั้นใน
 
เรียกว่า  เนื้อขาว  ( White Metter ) ซึ่งสมองแบ่งออกเป็น  3  ส่วน

http://www.promma.ac.th/biology/web2/scan0017.jpg

1.1 สมองส่วนหน้า ( Forebrain )
ประกอบด้วยเซรีบรัม ( Cerebrum ) ทำหน้าที่ด้วนความทรงจำ  ความฉลาด
ไหวพริบ  เป็นศูนย์รับความรู้สึกในการมองเห็น การได้ยิน  การได้กลิ่น 
และ  การรับรส , ทาลามัส ( Thalamus )
เป็นศูนย์รับและถ่ายทอดความรู้สึกไปยัง    
เซ
รีบรัม , ไฮโปทาลามัส ( Hypothnalamus )
เป็นศูนย์ควบคุมอุณหภูิมิของร่างกาย  การเต้นของหัวใจ  ความดันเลือด 
ความหิว การนอนหลับ การหลั่งฮอร์โมนของต่ิอมไร้ท่อ
การหลั่งน้ำย่อยจากกระเพาะอาหาร 
ความสมดุลของน้ำในร่างกายและการแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกต่างๆ

1.2 สมองส่วนกลาง ( Midbrain ) ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของลูกตา และ ม่านตา

1.3  สมอง
ส่วนท้าย ( Hindbrain ) ประกอบด้วย  เซรีเบลลัม ( Cerebellum )
ทำหน้าที่ในการดูแลการทำงานของส่วนต่างๆ 
ในร่างกายและระบบกล้ามเนื้อต่างๆ 
ให้ประสานสัมพันธ์กันควบคุมการทรงตัวของร่างกาย , พอนส์ ( Pons )
ทำหน้าที่ควบคุมการเคี้ยวอาหาร การหลั่งน้ำลาย  การหายใจ การฟัง 
การเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าและเป็นสะพานเชื่อมระหว่างสมองกับไข
สันหลัง มีก้านสมองส่วนท้าย ( Medulla Oblongata )
ทำหน้าที่เป็นศูนย์ควมคุมการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติต่างๆ  เช่น 
การหายใจ  การไหลเวียนโลหิต  การเต้นของหัวใจ  การไอ  การจาม  การกลืน 
เป็นต้น 

2. ไขสันหลัง ( Spinal cord  ) เป็น
ส่วนที่ต่อก้านสมองส่วนท้าย ลงไปตามแนวช่องกระดูกสันหลัง 
ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมในการรับกระแสประสาทจากส่วนต่างๆ 
ของร่างกายส่งต่อไปยังสมองและรับจากสมองส่งไปยังอวัยวะต่างๆ  ของร่างกาย 
นอกจากนี้ยังควบคุมปฏิกิริยาตอบสนองสิ่งเร้าอย่างกะทันหัน
โดนไม่ต้องรอคำสั่งจากสมองหรือที่เรียกว่า  ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์  (  Reflex
Action ) เช่น  เมื่อมือไปถูกของร้อนๆ จะกระตุกมือหนีทันที เป็นต้น

http://mail.vcharkarn.com/uploads/28/28589.jpg

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 409 คน กำลังออนไลน์