• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:cdb8ff19aef82bab741920a84bb75d00' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ทฤษฎีการกำเนิดระบบสุริยะ <br />\n</strong><br />\n       1. ทฤษฎีจุดกำเนิดระบบสุริยะของบูฟง (Georges Louis leclere Buffon) นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ. 2288 เสนอว่า มีดาวฤกษ์ดวงหนึ่งเคลื่อนที่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์มีขนาดใกล้เคียงกัน แล้วแรงดึงดูดระหว่างกันทำให้มวลส่วนหนึ่งหลุดออกมากลายเป็นดาวเคราะห์ โลก และวัตถุอื่น ๆ ในระบบสุริยะ </p>\n<p>       2. ทฤษฎีจุดกำเนิดระบบสุริยะของ ลาพลาส โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ ลาพลาส (Piere Simon Laplace) ได้ร่วมงานกับ คานท์ เมื่อ พ.ศ. 2349 เสนอว่า ระบบสุริยะเกิดมาจากมวลของกลุ่มก๊าซฝุ่นละออง หมอกควัน ซึ่งมีขนาดใหญ่และร้อนจัด รวมกลุ่มกันหมุนรอบตัวเองอย่างช้า ๆ ทำให้มีมวลขนาดใหญ่ขึ้น ยุบตัวลง อัดแน่นมากขึ้น หมุนเร็วมากขึ้น ทำให้มวลบางส่วนหลุดออกมาเป็นวงแหวน และวงแหวนมีการหมุนจนหดตัวเป็นดาวเคราะห์ โลก และวัตถุอื่น ๆ ในระบบสุริยะ จึงเรียกทฤษฎีของคานท์และลาพลาสว่า “The Nebula Hypothesis” </p>\n<p>       3. ทฤษฎีจุดกำเนิดระบบสุริยะของเจมส์ ยีนส์ (Sir James Jeans) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ พ.ศ. 2444 เสนอทฤษฎีว่าด้วยแรงดึงดูดระหว่างกัน (Tidal Theory หรือ Two-star) ก่อนหน้านั้น เมื่อ พ.ศ. 2443 มีนักวิทยาศาสตร์อเมริกัน 2 คน คือ โทมัน แซมเบอร์ลิน (Thomas Chamberlin) และ เอฟ. อาร์. โมลตัน (F. R. Moulton) โดยใช้หลักการของ บูฟง และเชื่อว่าเนื้อสารของดวงอาทิตย์ในตอนแรกนั้นน่าจะกระจายเป็นชิ้นเล็ก ๆ ก่อนแล้ว มารวมกันเป็นก้อนใหญ่ขึ้นและหลอมรวมกันเป็นดาวเคราะห์ โลก และวัตถุอื่น ๆ ในระบบสุริยะ </p>\n<p>       4. ทฤษฎีจุดกำเนินระบบสุริยะของ เฟรด ฮอยล์ (Fred Hoyle) และ ฮานส์ อัลเฟน (Hans Alphen) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ พ.ศ. 2493 เสนอทฤษฎีว่าด้วยกลุ่มเมฆหมอก (Interstellar Cloud Theory) โดยกล่าวสนับสนุน คานท์ และลาพลาส แต่เชื่อว่ามีดวงอาทิตย์เกิดขึ้นก่อน แล้วมีแสงสว่างภายหลัง ส่วนกลุ่มเมฆหมอกที่อยู่รอบดวงอาทิตย์ ก็จะหมุนและถูกดูดจนอัดแน่นรวมกันเป็นดาวเคราะห์ โลก และวัตถุอื่น ๆ ในระบบสุริยะ </p>\n<p>       5. ทฤษฏีการเปล่งแสง (Supernova Theory) หรือดาวแฝด (Binary Star) กล่าวว่ามีดวงอาทิตย์ 2 ดวง ดึงดูดกันจนทำให้อาทิตย์อีกดวงเปล่งแสงมากขึ้นจนแตกเป็นชิ้นส่วนมากมาย และถูกแรงดึงดูดของอาทิตย์ให้หมุนรอบจนรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ โลก และวัตถุอื่น ๆ ในระบบสุริยะ </p>\n<p>       6. ทฤษฎีเกี่ยวกับขนาดและความถ่วงจำเพาะของดาวเคราะห์ (Explaning the Size and Density of Planets) เสนอว่า มีสารคล้าย ๆ รูปจักรเกิดขึ้นรอบ ๆ เส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์ และหมุนรอบดวงอาทิตย์เร็วขึ้นเรื่อย ๆ จนอัดแน่นทำให้มีความถ่วงจำเพาะมากขึ้นสะสมต่าง ๆ มากขึ้น เช่น ไฮโดรเจน เป็นดาวเคราะห์ โลก และวัตถุอื่น ๆ ในระบบสุริยะ </p>\n<p>สรุป </p>\n<p>    จากทฤษฎีที่กล่าวมาทั้งหมด นักวิทยาศาสตร์ยังศึกษาหาความจริงอยู่ตลอดเวลา นักเรียนควรเป็นผู้วิเคราะห์ว่าทฤษฎีใดน่าจะเป็นไปได้มากที่สุดรวมทั้งนักเรียนควรจะศึกษาจากเอกสาร และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ เช่น Inter net เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์และตัดสินใจต่อไป </p>\n<p>       4.2 ส่วนประกอบของโลก </p>\n<p>    โลก (Earth) มีลักษณะกลมคล้ายผลส้ม ส่วนบนและส่วนล่างแบนเล็กน้อย ความยาวของเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 12,755 km หรือ 7,927 ไมล์ ความตั้งแต่ขั้วเหนือถึงขั้วโลกใต้ ประมาณ 12,711 km หรือ 7,900 ไมล์ ความยาวเส้นรอบวง 25,000 ไมล์ แกนของโลกเอียง ประมาณ 23 1/2 องศา จากแนวดิ่ง หมุนรอบตัวเอง 24 ชั่วโมง หมุนรอบดวงอาทิตย์ 365.24 วัน ห่างจากดวงอาทิตย์ ประมาณ 93 ล้านไมล์ ในนวนิยายเรื่อง Journey to the Centre of the Earth ที่ Jules Verne ได้ประพันธ์ไว้ในปี 2407 ศาสตราจารย์ Hardwingg และหลานชายชื่อ Harry ได้เดินทางด้วยจรวดเข้าไปในโลกทางปากปล่องภูเขาไฟ คนทั้งสองได้พบเหตุการณ์ที่พิลึก และพิสดารมากมาย แต่จินตวิธีที่ Vern คิด กับวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการศึกษาโครงสร้างของโลกนั้นแตกต่างกัน </p>\n<p>    จริงอยู่ที่ระยะทางจากกรุงเทพฯ ถึงจุดศูนย์กลางของโลก ใกล้กว่าระยะทางจากกรุงเทพฯ ถึงลอสแองเจลิส แต่การที่มนุษย์จะเดินทาง จากกรุงเทพฯ ถึงจุดศูนย์กลางของโลกนั้นยากลำบากยิ่งกว่าการเดินทางไปลอสแองเจลิสเป็นล้านล้านล้านเท่า ความยากลำบากนี้อาจจะ เปรียบได้กับความพยายามของมนุษย์ที่จะเดินทางสู่กาแล็กซีทีเดียว ทั้งนี้เพราะจากสถิติปัจจุบันมนุษย์ขุดเจาะโลกได้ลึกเพียง 12 กิโลเมตร เท่านั้นเอง ในขณะที่รัศมีของโลกยาวถึง 6,367 กิโลเมตร ถึงแม้มนุษย์ยังไม่ประสบความสำเร็จสูงในการขุดโลกก็ตาม แต่นั่นก็ไม่ได้ หมายความว่ามนุษย์จะไม่มีทางล่วงรู้โครงสร้างภายในโลกได้ </p>\n<p>    เมื่อปี 2208 Athanasia Kircher เคยมีจินตนาการว่า ที่ศูนย์กลางของโลกมีลูกไฟขนาดใหญ่ และเวลาเปลวไฟจากลูกไฟลอยผ่าน ชั้นหินและดินจากใต้แผ่นดินขึ้นมา ภูเขาไฟก็จะระเบิด แต่ Edmond Halley กลับคิดว่าโลกประกอบด้วยลูกทรงกลมหนาที่เรียง ซ้อนกันเป็นชั้นๆ และเวลาก็าซที่แฝงอยู่ระหว่างชั้นเหล่านี้เล็ดลอดสู่ขั้วโลก เราก็จะเห็นแสงเหนือ (aurora borealis) นอกจากนี้ Halley ก็ยังคิดอีกว่าความหนาแน่นของหินและดินในโลกมีค่าสม่ำเสมอเท่ากันโดยตลอดทั่วทั้งโลก แต่เมื่อ Isaac Newton พบกฎแรงดึงดูดแบบโน้มถ่วง และนักวิทยาศาสตร์ได้ใช้กฎนี้คำนวณหาความหนาแน่นของโลก เขาก็ได้พบว่า ณ ที่ยิ่งลึก ความหนาแน่น ของหินและดินก็ยิ่งสูง ดังนั้นโครงสร้างโลกในมุมมองของ Halley จึงผิด Lord Kelvin เป็นนักวิทยาศาสตร์อีกคนหนึ่งที่สนใจ เรื่องโครงสร้างโลก เมื่อ Kelvin รู้ว่าโลกกำลังเย็นตัวลงตลอดเวลา เขาจึงใช้ข้อมูลเรื่องอัตราการเย็นตัว คำนวณพบว่าโลกมีอายุระหว่าง 20-100 ล้านปี ซึ่งตัวเลขนี้ Charles Darwin คิดว่าเป็นตัวเลขที่น้อยผิดปกติ เพราะ Darwin เชื่อในทฤษฎีวิวัฒนาการของเขา ที่ทำนายว่าสิ่งมีชีวิตได้ถือกำเนิดบนโลกมานานกว่านั้น สำหรับแนวคิดของ Kelvin ที่ว่า โลกมีโครงสร้างเป็นทรงกลมตันนั้น Alfred Wegener ก็ไม่เห็นด้วย เพราะเขาคิดว่าพื้นแผ่นดินที่เป็นทวีป สามารถเลื่อนไหลไปบนผิวโลกได้ ถึงแม้ว่าจะเคลื่อนไปในอัตราช้า ประมาณ 2 เซนติเมตร/ปีก็ตาม และเมื่อ ประมาณ 40 ปีมานี้เอง ทฤษฎี plate tectonics ของ Wegener ก็ได้รับการพิสูจน์ยืนยัน แล้วว่าถูกต้องและเป็นจริง </p>\n<p>    ทุกวันนี้ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ช่วยให้เรารู้ว่า โลกมีโครงสร้างที่ค่อนข้างซับซ้อน และบริเวณส่วนต่างๆ ของโลกมีการ เคลื่อนไหว เช่น ชนกัน แยกจากกัน เคลื่อนที่ซ้อนกันหรือไหลวนตลอดเวลา ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจได้ช่วยให้นักธรณีวิทยาสามารถ แบ่งโครงสร้างภายในของโลกเป็นชั้นๆ ได้ ดังนี้ คือ ชั้นนอกสุดเป็นเปลือกโลก (crust) พื้นดินที่เป็นทวีปและพื้นน้ำที่เป็นมหาสมุทร จะอยู่ในบริเวณเปลือกโลกที่มีความหนาตั้งแต่ 15-120 กิโลเมตร ใต้เปลือกโลกลงไปเป็นชั้นกลางเรียก mantle โลกส่วนนี้มีความหนา ประมาณ 2,800 กิโลเมตร และมีความหนาแน่นสูง เพราะประกอบด้วยซิลิเกต เหล็ก และแมกนีเซียมเป็นส่วนใหญ่ ส่วนชั้นในสุดที่เรียก แกนกลาง (core) นั้น นักวิทยาศาสตร์ในสมัย Verne คิดว่าเป็นของเหลวประเภทลาวาภูเขาไฟ แต่ Verne ได้รับคำยืนยันโดย นักวิทยาศาสตร์ปัจจุบันว่าถูก เพราะแกนกลางมีสองส่วน คือ แกนส่วนนอก (outer core) ที่เป็นเหล็กเหลว มีความหนาประมาณ 2,100 กิโลเมตรและแกนส่วนใน (inner core) ที่เป็นเหล็กแข็ง มีรัศมียาวประมาณ 1,200 กิโลเมตร นักวิทยาศาสตร์ได้ข้อมูลโครงสร้างโลก เหล่านี้จากการใช้กระบวนการที่เรียกว่า seismic topography ซึ่งเป็นวิธีเดียวกับที่แพทย์ใช้ในการตรวจร่างกายคนไข้เพื่อค้นหา เนื้องอก โดยการรวบรวมข้อมูลการสั่นสะเทือนของแผ่นดินซึ่งเกิดขึ้นไม่ต่ำกว่า 1 ล้านครั้งในแต่ละปี จากสถานีสำรวจจำนวนกว่า 3,100 สถานีทั่วโลกมาประมวล แล้วใช้คอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถภาพสูง สังเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น จนทำให้ได้ภาพสามมิติของโลกในที่สุด แสดงให้เห็นว่าแกนส่วนในของ โลกประกอบด้วยเหล็กเป็นส่วนใหญ่ แต่เมื่อแกนส่วนนี้มีอุณหภูมิสูงถึง 6,000 องศาเซลเซียสและอยู่ใต้ความดันที่สูงถึง 300 ล้านบรรยากาศ ธรรมชาติที่แท้จริง ของแกนส่วนในซึ่งตกอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ธรรมดาจะเป็นเช่นไรจึงเป็นปริศนาที่นักวิทยาศาสตร์กำลังแสวง หาคำตอบอยู่ นอกจากคำถามประเด็นนี้ แล้ว ปริศนาอย่างอื่นๆ เช่น เหตุใดขั้ว เหนือ-ใต้ของแม่เหล็กโลกจึงกลับขั้วได้ ชั้นต่างๆ ของโลกเคลื่อนที่สัมพันธ์กัน อย่างไร และเราจะรู้อุณหภูมิที่จุดศูนย์ กลางของโลกได้อย่างไร เหล่านี้คือปัญหา ที่นักธรณีวิทยาปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ </p>\n<p>    เมื่อ 4,600 ล้านปีก่อนนี้ในขณะที่โลกกำลังถือกำเนิดจากการจับตัวกันของฝุ่นละอองในก๊าซร้อนที่อยู่รอบดวงอาทิตย์ แรงดึงดูด แบบโน้มถ่วงได้ทำให้เม็ดฝุ่นเกาะตัวรวมกันมีขนาดใหญ่ขึ้นๆ และเมื่อเม็ดฝุ่นที่มีขนาดใหญ่ชนกันปะทะกัน ความร้อนที่เกิดจากการ ปะทะกันอย่างรุนแรงได้ทำให้มันหลอมรวมกันจนมีขนาดใหญ่ขึ้นๆ ตามลำดับ องค์ประกอบส่วนที่เป็นเหล็กซึ่งมีความหนาแน่นสูง ก็จะจมตัวลงไปรวมกันที่แกน การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีในโลกและความดันที่มากมหาศาลได้ทำให้แกนมีอุณหภูมิสูง จนแกน ส่วนนอกมีสภาพเป็นของเหลว และแกนส่วนในมีสภาพเป็นของแข็ง และเมื่อโลกหมุนรอบตัวเองตลอดเวลา การหมุนของโลกทำให้ เหล็กเหลวในบริเวณแกนส่วนนอกไหลวนไปมาด้วย และการไหลวนของเหล็กเหลวนี้เองที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์หลายคนคิดว่า คือสาเหตุที่ทำให้โลกมีสนามแม่เหล็กในตัว และถึงแม้ส่วนที่เป็นแกนกลางของโลกจะอยู่ไกลจากมนุษย์ถึง 2,800 กิโลเมตรก็ตาม แต่มันก็มีอิทธิพลต่อมนุษยชาติมาก เพราะการไหลของเหล็กเหลวที่อยู่ในบริเวณแกนส่วนนอกทำให้โลกมีสนามแม่เหล็กที่สามารถปกป้อง มิให้อนุภาคคอสมิกจากอวกาศหรือลมสุริยะจากดวงอาทิตย์พุ่งมาทำร้ายชีวิตทุกชนิดบนโลกได้ นอกจากนี้ลักษณะการไหลของ ของเหลวส่วนนี้ก็ยังมีอิทธิพลต่อการเคลื่อนที่ของทวีปที่ผิวโลก การระเบิดของภูเขาไฟ และความรุนแรงของเหตุการณ์แผ่นดินไหวด้วย ซึ่งปรากฏการณ์เหล่านี้จะร้ายแรงมากหรือน้อยเพียงใดก็ขึ้นกับว่า แกนกลางของโลกเรานั้นร้อนเพียงใดและปัญหานี้ก็คือปัญหาที่นักธรณี ฟิสิกส์ปัจจุบันกำลังสนใจ </p>\n<p>    ในวารสาร Nature ฉบับที่ 401 ประจำวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2543 D. Alf&amp;egrave; และคณะได้รายงานว่า เขามีวิธีวัด อุณหภูมิของแกนกลางโลก โดยอาศัยความรู้ที่ว่าเวลาเราลงไปในบ่อเหมือง เราจะรู้สึกว่าอุณหภูมิที่ก้นบ่อสูงกว่าอุณหภูมิที่ปากบ่อ สาเหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะโลกกำลังกำจัดความร้อนออกจากตัวในอัตรา 4.2 x 1013 จูล/วินาที (1 จูลคือพลังงานที่มวล 2 กิโลกรัม มีขณะที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 1 เมตร/วินาที) ดังนั้นสถานที่ใดที่อยู่ใกล้จุดศูนย์กลางของโลกก็ย่อมร้อนกว่าสถานที่ที่อยู่ไกลจาก จุดศูนย์กลางของโลกเป็นธรรมดา แต่ถ้า Alf&amp;egrave; ใช้ข้อมูลอุณหภูมิที่แตกต่างกันตั้งแต่ 20-30 องศา ของบ่อเหมืองที่ลึก 1 กิโลเมตร เขาก็จะพบว่า ภายในระยะทางที่ลึกเพียง 200 กิโลเมตร อุณหภูมิจะสูงมากจนหินทั้งหลายละลายกลายเป็นไอหมด แต่ความจริงก็มีว่า ในชั้นที่เป็น mantle นั้น โลกใช้กระบวนการกำจัดความร้อนภายในโลก โดยวิธีการพาความร้อน (convection) ทำให้อุณหภูมิของหินชั้นต่างๆ ในโลกไม่สูงมากอย่างที่คิด </p>\n<p>    เมื่อ Alf&amp;egrave; สังเคราะห์ข้อมูลทางธรณีฟิสิกส์และธรณีเคมีเขาก็ได้พบว่า บริเวณรอยต่อระหว่าง mantle กับแกนกลางมี อุณหภูมิสูงประมาณ 2,500-3,00 องศาเคลวิน (2,227-2,727 องศาเซลเซียส) และเมื่อเขารู้ว่าแกนกลางส่วนในของโลกประกอบ ด้วยเหล็ก 90% และธาตุเบา เช่น กำมะถัน ออกซิเจน และไฮโดรเจนอีก 10% การมีธาตุอื่นผสมอยู่ด้วยเช่นนี้ ทำให้จุดหลอมเหลว ของเหล็กลดต่ำลง ผลการคำนวณที่ได้จากการพิจารณาของผสมที่มีทั้งเหล็กเหลวและเหล็กแข็งนี้ ทำให้เขารู้ว่าอุณหภูมิที่บริเวณรอยต่อ ระหว่างแกนส่วนในกับแกนส่วนนอก เท่ากับ 6,670 &amp;plusmn; 600 องศาเคลวิน (6,399 &amp;plusmn; 327 องศาเซลเซียส) อุณหภูมิที่บริเวณรอยต่อระหว่างแกนส่วนนอกกับ mantle สูงประมาณ 4,000 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิระหว่าง mantle กับเปลือกโลก มีค่าประมาณ 1,500 องศาเซลเซียส </p>\n<p>    นอกจากประเด็นอุณหภูมิที่นักวิทยาศาตร์สนใจแล้วลักษณะการเคลื่อนไหวของแกนส่วนในของโลกก็ป็นปริศนาที่นักวิทยาศาสตร์ กำลังทุ่มเทความพยายามศึกษาเช่นกัน เพราะข้อมูลที่ได้จากการศึกษาคลื่นแผ่นดินไหว ได้ชี้บอกให้นักธรณีฟิสิกส์รู้ว่า แกนส่วนใน ที่เป็นเหล็กแข็งนั้นกำลังเพิ่มขนาดของมันตลอดเวลา ในอัตรา 2-3 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ซึ่งกระบวนการเพิ่มขนาดของแกนกลางนี้ ได้เริ่มต้นเมื่อประมาณ 2,000 ล้านปีมาแล้ว นอกจากนี้ในปี 2539 X. Song และ P.G. Richards แห่ง Lamont Doherty Earth Observatory ที่ Palisades ในรัฐนิวยอร์กได้ทำให้โลกตะลึง เมื่อเขาทั้งสองรายงานว่า แกนกลางที่เป็นเหล็กแข็งสามารถ หมุนรอบตัวเองได้อย่างอิสระ โดยเฉพาะบริเวณศูนย์สูตรของมันสามารถเคลื่อนได้เร็วกว่าเปลือกโลกถึง 1 แสนเท่าและด้วยความเร็วเช่นนี้ มันจะสามารถหมุนได้ครบหนึ่งรอบภายในเวลาประมาณ 400 ปี โดยนักวิทยาศาสตร์ทั้งสองได้ข้อสรุปนี้จากการเปรียบเทียบความเร็ว ของคลื่นแผ่นดินไหวที่เกิดในบริเวณ South Sandwich Islands แล้วเคลื่อนที่ทะลุผ่านแกนกลางของโลกสู่เครื่องรับสัญญาลักษณ์ ที่อะแลสกาในระหว่างปี 2510-2538 และ Song กับ Richards ก็ได้พบว่า ในบรรดาคลื่นแผ่นดินไหว 38 ลูกที่เขาตรวจพบนั้น คลื่นในปี 2538 ใช้เวลาเดินทางน้อยกว่าคลื่นปี 2510 ถึง 0.3 วินาที ซึ่งตัวเลขความแตกต่างนี้ Song อธิบายว่า เป็นผลที่เกิดจาก การที่แกนเหล็กของโลกได้หมุนไป ทำให้ความเร็วของคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านแกนเหล็กเปลี่ยนแปลงไปด้วย และอัตราการหมุนรอบตัวเอง ของแกนเหล็กเท่ากับ 0.2 องศา/ปี </p>\n<p>\n    ทฤษฎีการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่ (Big Bang Theory) ตั้งขึ้นโดยนักดาราศาสตร์ชาวเบลเยี่ยม ชื่อ อับเบ จอร์จ ลือเมตเทรต (Abbe Georges Lemaitre) เมื่อปี พ.ศ. 2470 สรุปได้ว่า จักรวาลเกิดมาจากการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่ของสารที่อัดแน่นรวมกัน แรงระเบิดทำให้ชิ้นส่วนแตกละเอียดเป็นฝุ่นละอองและก๊าซร้อน กระเด็นออกไปทุกทิศทุกทาง ต่อมาเย็นตัวลงและเกาะรวมกันเป็นกาแลกซี และสิ่งอื่น ๆ รวมกันเป็นองค์ประกอบของจักรวาลในปัจจุบัน คาดว่าเกิดขึ้นมาแล้ว ประมาณ 15,000 – 20,000 ล้านปี </p>\n<p>    ทำไมการกำเนิดของเอกภพจึงเป็น BIG BANG (การระเบิดใหญ่) </p>\n<p>    ถ้าเอกภพกำลังขยายตัวก็แสดงว่าถ้าเราย้อนเวลากลับไปในอดีต เอกภพก็ต้องมีขนาดเล็กลงเรื่อยๆ ยิ่งย้อนเวลามากก็ยิ่งเล็กลง แล้วเมื่อเล็กลงอย่างที่สุดจะเกิดอะไรขึ้น เอกภพจะลดลงจนสลายไปหรือหวังว่าจะมีจุดหนึ่งที่เอกภพกำเนิด ไม่ว่าจะเป็นกรณีใดจะเห็นว่าเราจะต้องเกี่ยวข้องกับการเริ่มของเอกภพทั้งนั้น ผู้แรกที่เริ่มศึกษาปัญหาเหล่านี้อย่างจริงจังคือนักฟิสิกส์ซึ่งเกิดที่รัสเซียชื่อ กามอฟ แต่ภายหลังอพยพไปอยู่อเมริกาในช่วงปี 1948 ที่จริงกามอฟไม่ได้ตั้งใจที่จะคิดค้นเกี่ยวกับการเริ่มของเอกภพตั้งแต่ตอนแรก แต่ระหว่างที่เขากำลังคิดค้นเกี่ยวกับการเกิดของธาตุ เขาก็ได้บรรลุถึงข้อสรุปว่า เอกภพจะต้องเกิดขึ้นด้วย BIG BANG </p>\n<p>    บิกแบง (Big Bang) คือชั่วขณะที่จุดเริ่มต้นของเอกภพตามแบบจำลองของเอกภพแบบหยึ่งที่มันได้ถือกำเนิดขึ้นด้วยการระเบิดหรือการขยายตัวอย่างรวดเร็วจากปริมาตรเป็นศูนย์ </p>\n<p>สมมติฐานเอกภพบิกแบงของกามอฟ </p>\n<p>    ตามทฤษฎีเอกภพของฟรีดมานน์ ซึ่งได้มาจากการประยุกต์ทฤษฎีสัมพัทธภาพจะบอกได้ว่า เอกภพมีจุดเริ่ม ซึ่งก็คือเงื่อนไขเบื้องต้นถึงทฤษฎีสัมพัทธภาพจะบอกไม่ได้ว่าเงื่อนไขข้างต้นนี้มาจากไหน แต่มันก็บอกให้เรารู้ว่า เอกภพเริ่มกำเนิดโดยมีเงื่อนไขเบื้องต้น แต่อย่างไรก็ตามทฤษฎีนี้ไม่ได้บอกเราว่าเอกภพตอนเริ่มกำเนิดนั้นร้อนหรือเย็น แล้วทำไมกามอฟถึงคิดว่าเอกภพกำเนิดด้วยความร้อนสูง แต่เพื่อที่จะเข้าใจตรงนี้ก็ลองมาคิดกลับดูว่าทำไมเอกภพที่เย็นจึงเป็นไปไม่ได้เช่นกัน ถึงแม้โลกจะมีธาตุมากมายหลายชนิด เมื่อดูทั้งเอกภพจะเห็นว่าเกือบทั้งหมดเป็นธาตุไฮโดรเจน เพราะว่าไฮโดรเจนประกอบขึ้นจากโปรตอนและอิเล็กตรอน เราก็จะบอกได้ว่าตอนที่เอกภพกำเนิดและมีขนาดเล็กมาก อิเล็กตรอนจะรวมเข้าไปในโปรตอนกลายเป็นนิวตรอน นั่นก็คือเอกภพที่เย็น ในช่วงแรกจะเต็มไปด้วยนิวตรอนและเมื่อเอกภพขยายตัวขึ้น นิวตรอนจะสลายตัวแบบเบต้า กลายเป็นโปรตอนและ อิเล็กตรอน </p>\n<p>    โปรตอนนั้นจะทำปฏิกิริยารวมตัวกับนิวตรอนกลายเป็นตัว ทีเรียม (ไฮโดรเจนหนัก) และดิวทีเรียมจะรวมตัวกับนิวตรอนเป็น ไตรเทียม ซึ่งจะสลายตัวแบบเบตา กลายเป็นฮีเลียม 3 และเมื่อนิวตรอนอีกตัวรวมกับฮีเลียม 3 ก็จะได้อะตอมฮีเลียม และปฏิกิริยานิวเคลียร์ก็จะเกิดต่อกันไป ธาตุหนักต่างๆ ก็จะเกิดขึ้นในเอกภพต่อๆ กันไปเช่นกัน แต่ในความเป็นจริงนั้นในเอกภพมีไฮโดรเจน 75% ฮีเลียม 24% และอีก 1% เป็นธาตุอื่นๆ นั่นก็คือเกือบทั้งหมดเป็นธาตุเบาสองธาตุ คือ ไฮโดรเจนและฮีเลียม ซึ่งขัดกับสมมติฐานของเอกภพเย็นข้างต้น เพราะฉะนั้นกามอฟจึงคิดว่าเพื่อให้ขั้นตอนการเกิดธาตุหนักไม่ติดต่อกันไป จะต้องคิดว่าเอกภพเมื่อกำเนิดนั้นมีอุณหภูมิสูงมาก ถ้าเอกภพร้อนถึงจะเกิดปฏิกิริยารวมตัวกัน แต่เพราะร้อนกันออกอีกและก็อธิบายได้ว่าทำไมธาตุหนักจึงหยุดแค่ฮีเลียมเท่านั้น และนี่ก็คือที่มาของความคิดสมมติฐานเอกภพบิกแบงของกามอฟ โดยที่ขอเน้นว่ากามอฟไม่ได้บอกว่าบิกแบงเป็นต้นเหตุของการขยายตัวของเอกภพเลย เพียงแต่บอกว่าเพื่อที่จะอธิบายกำเนิดและปริมาณธาตุในเอกภพ เอกภพจะต้องเกิดด้วยบิกแบงเท่านั้น </p>\n<p>\n    การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก </p>\n<p>       4.3..1 มนุษย์ทำให้เปลือกโลกเปลี่ยนแปลง </p>\n<p>    พื้นผิวโลกเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและทำมาหากินของมนุษย์ ตั้งแต่เริ่มมีมนุษย์ การดำรงชีพอย่างปกติ จำเป็นต้องมีปัจจัยพื้นฐานหลายประการยิ่งไปกว่านั้นมนุษย์ต้องพี่งพาอาศัยกันและกัน และอาศัยสิ่งแวดล้อมไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม </p>\n<p>    การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก </p>\n<p>    แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ตลอดเวลาด้วยอัตราเร็ว 0.5 นิ้ว ต่อปี บางแห่งอาจถึง 6 นิ้ว ต่อปีสิ่งที่ทำให้เปลือกโลกเคลื่อนที่ได้แก่ </p>\n<p>       1. การเคลื่อนที่ของหินหนืด (Magma) Magma จัดเป็นหินหนืดในชั้นแมนเทิลสามารถอธิบายได้โดย ทฤษฎีพลูม (Plume Theory) โดยนายเจสัน มอร์แกน (Jason Morgan) โดยตั้งสมมุติฐานว่ามีจุดร้อน (Plume) ของมวลที่แข็งและร้อนของ Magma ปูดนูนขึ้นมา มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 200-300 กิโลเมตร ทำให้เกิดการขยายตัวของแผ่นเปลือกโลกชั้นใน พบว่ามี 20 จุด โดยแรงดัน ดันขึ้นตามแนวดิ่ง ทำให้เกิดการไหลของหินหนืดทำให้เกิด แรงดันและพยุงที่เกิดจากหินหนืดในชั้นในแมนเทิล โดยนาย Mathews และนาย Vine เสนอว่า แผ่นเปลือกโลกที่อยู่ใต้สมุทรมีความหนาแน่นมากกว่าบริเวณทวีป ทำให้ Magma แทรกตัวขึ้นมาตามรอยแยก Magma จึงทำหน้าที่ดันและพยุงแผ่นเปลือกโลกใต้สมุทรให้แยกออกจากกัน เลยทำให้ทวีปยุโรปกับอเมริกาแยกจากกันไปด้วย เรียกว่า Spleding Zone เช่น เกิดกลางมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นรอยแยกระหว่างแผ่นอเมริกากับแผ่นยูเรเซีย</p>\n', created = 1729412618, expire = 1729499018, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:cdb8ff19aef82bab741920a84bb75d00' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบสุริยะ

ทฤษฎีการกำเนิดระบบสุริยะ

       1. ทฤษฎีจุดกำเนิดระบบสุริยะของบูฟง (Georges Louis leclere Buffon) นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ. 2288 เสนอว่า มีดาวฤกษ์ดวงหนึ่งเคลื่อนที่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์มีขนาดใกล้เคียงกัน แล้วแรงดึงดูดระหว่างกันทำให้มวลส่วนหนึ่งหลุดออกมากลายเป็นดาวเคราะห์ โลก และวัตถุอื่น ๆ ในระบบสุริยะ

       2. ทฤษฎีจุดกำเนิดระบบสุริยะของ ลาพลาส โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ ลาพลาส (Piere Simon Laplace) ได้ร่วมงานกับ คานท์ เมื่อ พ.ศ. 2349 เสนอว่า ระบบสุริยะเกิดมาจากมวลของกลุ่มก๊าซฝุ่นละออง หมอกควัน ซึ่งมีขนาดใหญ่และร้อนจัด รวมกลุ่มกันหมุนรอบตัวเองอย่างช้า ๆ ทำให้มีมวลขนาดใหญ่ขึ้น ยุบตัวลง อัดแน่นมากขึ้น หมุนเร็วมากขึ้น ทำให้มวลบางส่วนหลุดออกมาเป็นวงแหวน และวงแหวนมีการหมุนจนหดตัวเป็นดาวเคราะห์ โลก และวัตถุอื่น ๆ ในระบบสุริยะ จึงเรียกทฤษฎีของคานท์และลาพลาสว่า “The Nebula Hypothesis”

       3. ทฤษฎีจุดกำเนิดระบบสุริยะของเจมส์ ยีนส์ (Sir James Jeans) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ พ.ศ. 2444 เสนอทฤษฎีว่าด้วยแรงดึงดูดระหว่างกัน (Tidal Theory หรือ Two-star) ก่อนหน้านั้น เมื่อ พ.ศ. 2443 มีนักวิทยาศาสตร์อเมริกัน 2 คน คือ โทมัน แซมเบอร์ลิน (Thomas Chamberlin) และ เอฟ. อาร์. โมลตัน (F. R. Moulton) โดยใช้หลักการของ บูฟง และเชื่อว่าเนื้อสารของดวงอาทิตย์ในตอนแรกนั้นน่าจะกระจายเป็นชิ้นเล็ก ๆ ก่อนแล้ว มารวมกันเป็นก้อนใหญ่ขึ้นและหลอมรวมกันเป็นดาวเคราะห์ โลก และวัตถุอื่น ๆ ในระบบสุริยะ

       4. ทฤษฎีจุดกำเนินระบบสุริยะของ เฟรด ฮอยล์ (Fred Hoyle) และ ฮานส์ อัลเฟน (Hans Alphen) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ พ.ศ. 2493 เสนอทฤษฎีว่าด้วยกลุ่มเมฆหมอก (Interstellar Cloud Theory) โดยกล่าวสนับสนุน คานท์ และลาพลาส แต่เชื่อว่ามีดวงอาทิตย์เกิดขึ้นก่อน แล้วมีแสงสว่างภายหลัง ส่วนกลุ่มเมฆหมอกที่อยู่รอบดวงอาทิตย์ ก็จะหมุนและถูกดูดจนอัดแน่นรวมกันเป็นดาวเคราะห์ โลก และวัตถุอื่น ๆ ในระบบสุริยะ

       5. ทฤษฏีการเปล่งแสง (Supernova Theory) หรือดาวแฝด (Binary Star) กล่าวว่ามีดวงอาทิตย์ 2 ดวง ดึงดูดกันจนทำให้อาทิตย์อีกดวงเปล่งแสงมากขึ้นจนแตกเป็นชิ้นส่วนมากมาย และถูกแรงดึงดูดของอาทิตย์ให้หมุนรอบจนรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ โลก และวัตถุอื่น ๆ ในระบบสุริยะ

       6. ทฤษฎีเกี่ยวกับขนาดและความถ่วงจำเพาะของดาวเคราะห์ (Explaning the Size and Density of Planets) เสนอว่า มีสารคล้าย ๆ รูปจักรเกิดขึ้นรอบ ๆ เส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์ และหมุนรอบดวงอาทิตย์เร็วขึ้นเรื่อย ๆ จนอัดแน่นทำให้มีความถ่วงจำเพาะมากขึ้นสะสมต่าง ๆ มากขึ้น เช่น ไฮโดรเจน เป็นดาวเคราะห์ โลก และวัตถุอื่น ๆ ในระบบสุริยะ

สรุป

    จากทฤษฎีที่กล่าวมาทั้งหมด นักวิทยาศาสตร์ยังศึกษาหาความจริงอยู่ตลอดเวลา นักเรียนควรเป็นผู้วิเคราะห์ว่าทฤษฎีใดน่าจะเป็นไปได้มากที่สุดรวมทั้งนักเรียนควรจะศึกษาจากเอกสาร และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ เช่น Inter net เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์และตัดสินใจต่อไป

       4.2 ส่วนประกอบของโลก

    โลก (Earth) มีลักษณะกลมคล้ายผลส้ม ส่วนบนและส่วนล่างแบนเล็กน้อย ความยาวของเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 12,755 km หรือ 7,927 ไมล์ ความตั้งแต่ขั้วเหนือถึงขั้วโลกใต้ ประมาณ 12,711 km หรือ 7,900 ไมล์ ความยาวเส้นรอบวง 25,000 ไมล์ แกนของโลกเอียง ประมาณ 23 1/2 องศา จากแนวดิ่ง หมุนรอบตัวเอง 24 ชั่วโมง หมุนรอบดวงอาทิตย์ 365.24 วัน ห่างจากดวงอาทิตย์ ประมาณ 93 ล้านไมล์ ในนวนิยายเรื่อง Journey to the Centre of the Earth ที่ Jules Verne ได้ประพันธ์ไว้ในปี 2407 ศาสตราจารย์ Hardwingg และหลานชายชื่อ Harry ได้เดินทางด้วยจรวดเข้าไปในโลกทางปากปล่องภูเขาไฟ คนทั้งสองได้พบเหตุการณ์ที่พิลึก และพิสดารมากมาย แต่จินตวิธีที่ Vern คิด กับวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการศึกษาโครงสร้างของโลกนั้นแตกต่างกัน

    จริงอยู่ที่ระยะทางจากกรุงเทพฯ ถึงจุดศูนย์กลางของโลก ใกล้กว่าระยะทางจากกรุงเทพฯ ถึงลอสแองเจลิส แต่การที่มนุษย์จะเดินทาง จากกรุงเทพฯ ถึงจุดศูนย์กลางของโลกนั้นยากลำบากยิ่งกว่าการเดินทางไปลอสแองเจลิสเป็นล้านล้านล้านเท่า ความยากลำบากนี้อาจจะ เปรียบได้กับความพยายามของมนุษย์ที่จะเดินทางสู่กาแล็กซีทีเดียว ทั้งนี้เพราะจากสถิติปัจจุบันมนุษย์ขุดเจาะโลกได้ลึกเพียง 12 กิโลเมตร เท่านั้นเอง ในขณะที่รัศมีของโลกยาวถึง 6,367 กิโลเมตร ถึงแม้มนุษย์ยังไม่ประสบความสำเร็จสูงในการขุดโลกก็ตาม แต่นั่นก็ไม่ได้ หมายความว่ามนุษย์จะไม่มีทางล่วงรู้โครงสร้างภายในโลกได้

    เมื่อปี 2208 Athanasia Kircher เคยมีจินตนาการว่า ที่ศูนย์กลางของโลกมีลูกไฟขนาดใหญ่ และเวลาเปลวไฟจากลูกไฟลอยผ่าน ชั้นหินและดินจากใต้แผ่นดินขึ้นมา ภูเขาไฟก็จะระเบิด แต่ Edmond Halley กลับคิดว่าโลกประกอบด้วยลูกทรงกลมหนาที่เรียง ซ้อนกันเป็นชั้นๆ และเวลาก็าซที่แฝงอยู่ระหว่างชั้นเหล่านี้เล็ดลอดสู่ขั้วโลก เราก็จะเห็นแสงเหนือ (aurora borealis) นอกจากนี้ Halley ก็ยังคิดอีกว่าความหนาแน่นของหินและดินในโลกมีค่าสม่ำเสมอเท่ากันโดยตลอดทั่วทั้งโลก แต่เมื่อ Isaac Newton พบกฎแรงดึงดูดแบบโน้มถ่วง และนักวิทยาศาสตร์ได้ใช้กฎนี้คำนวณหาความหนาแน่นของโลก เขาก็ได้พบว่า ณ ที่ยิ่งลึก ความหนาแน่น ของหินและดินก็ยิ่งสูง ดังนั้นโครงสร้างโลกในมุมมองของ Halley จึงผิด Lord Kelvin เป็นนักวิทยาศาสตร์อีกคนหนึ่งที่สนใจ เรื่องโครงสร้างโลก เมื่อ Kelvin รู้ว่าโลกกำลังเย็นตัวลงตลอดเวลา เขาจึงใช้ข้อมูลเรื่องอัตราการเย็นตัว คำนวณพบว่าโลกมีอายุระหว่าง 20-100 ล้านปี ซึ่งตัวเลขนี้ Charles Darwin คิดว่าเป็นตัวเลขที่น้อยผิดปกติ เพราะ Darwin เชื่อในทฤษฎีวิวัฒนาการของเขา ที่ทำนายว่าสิ่งมีชีวิตได้ถือกำเนิดบนโลกมานานกว่านั้น สำหรับแนวคิดของ Kelvin ที่ว่า โลกมีโครงสร้างเป็นทรงกลมตันนั้น Alfred Wegener ก็ไม่เห็นด้วย เพราะเขาคิดว่าพื้นแผ่นดินที่เป็นทวีป สามารถเลื่อนไหลไปบนผิวโลกได้ ถึงแม้ว่าจะเคลื่อนไปในอัตราช้า ประมาณ 2 เซนติเมตร/ปีก็ตาม และเมื่อ ประมาณ 40 ปีมานี้เอง ทฤษฎี plate tectonics ของ Wegener ก็ได้รับการพิสูจน์ยืนยัน แล้วว่าถูกต้องและเป็นจริง

    ทุกวันนี้ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ช่วยให้เรารู้ว่า โลกมีโครงสร้างที่ค่อนข้างซับซ้อน และบริเวณส่วนต่างๆ ของโลกมีการ เคลื่อนไหว เช่น ชนกัน แยกจากกัน เคลื่อนที่ซ้อนกันหรือไหลวนตลอดเวลา ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจได้ช่วยให้นักธรณีวิทยาสามารถ แบ่งโครงสร้างภายในของโลกเป็นชั้นๆ ได้ ดังนี้ คือ ชั้นนอกสุดเป็นเปลือกโลก (crust) พื้นดินที่เป็นทวีปและพื้นน้ำที่เป็นมหาสมุทร จะอยู่ในบริเวณเปลือกโลกที่มีความหนาตั้งแต่ 15-120 กิโลเมตร ใต้เปลือกโลกลงไปเป็นชั้นกลางเรียก mantle โลกส่วนนี้มีความหนา ประมาณ 2,800 กิโลเมตร และมีความหนาแน่นสูง เพราะประกอบด้วยซิลิเกต เหล็ก และแมกนีเซียมเป็นส่วนใหญ่ ส่วนชั้นในสุดที่เรียก แกนกลาง (core) นั้น นักวิทยาศาสตร์ในสมัย Verne คิดว่าเป็นของเหลวประเภทลาวาภูเขาไฟ แต่ Verne ได้รับคำยืนยันโดย นักวิทยาศาสตร์ปัจจุบันว่าถูก เพราะแกนกลางมีสองส่วน คือ แกนส่วนนอก (outer core) ที่เป็นเหล็กเหลว มีความหนาประมาณ 2,100 กิโลเมตรและแกนส่วนใน (inner core) ที่เป็นเหล็กแข็ง มีรัศมียาวประมาณ 1,200 กิโลเมตร นักวิทยาศาสตร์ได้ข้อมูลโครงสร้างโลก เหล่านี้จากการใช้กระบวนการที่เรียกว่า seismic topography ซึ่งเป็นวิธีเดียวกับที่แพทย์ใช้ในการตรวจร่างกายคนไข้เพื่อค้นหา เนื้องอก โดยการรวบรวมข้อมูลการสั่นสะเทือนของแผ่นดินซึ่งเกิดขึ้นไม่ต่ำกว่า 1 ล้านครั้งในแต่ละปี จากสถานีสำรวจจำนวนกว่า 3,100 สถานีทั่วโลกมาประมวล แล้วใช้คอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถภาพสูง สังเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น จนทำให้ได้ภาพสามมิติของโลกในที่สุด แสดงให้เห็นว่าแกนส่วนในของ โลกประกอบด้วยเหล็กเป็นส่วนใหญ่ แต่เมื่อแกนส่วนนี้มีอุณหภูมิสูงถึง 6,000 องศาเซลเซียสและอยู่ใต้ความดันที่สูงถึง 300 ล้านบรรยากาศ ธรรมชาติที่แท้จริง ของแกนส่วนในซึ่งตกอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ธรรมดาจะเป็นเช่นไรจึงเป็นปริศนาที่นักวิทยาศาสตร์กำลังแสวง หาคำตอบอยู่ นอกจากคำถามประเด็นนี้ แล้ว ปริศนาอย่างอื่นๆ เช่น เหตุใดขั้ว เหนือ-ใต้ของแม่เหล็กโลกจึงกลับขั้วได้ ชั้นต่างๆ ของโลกเคลื่อนที่สัมพันธ์กัน อย่างไร และเราจะรู้อุณหภูมิที่จุดศูนย์ กลางของโลกได้อย่างไร เหล่านี้คือปัญหา ที่นักธรณีวิทยาปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่

    เมื่อ 4,600 ล้านปีก่อนนี้ในขณะที่โลกกำลังถือกำเนิดจากการจับตัวกันของฝุ่นละอองในก๊าซร้อนที่อยู่รอบดวงอาทิตย์ แรงดึงดูด แบบโน้มถ่วงได้ทำให้เม็ดฝุ่นเกาะตัวรวมกันมีขนาดใหญ่ขึ้นๆ และเมื่อเม็ดฝุ่นที่มีขนาดใหญ่ชนกันปะทะกัน ความร้อนที่เกิดจากการ ปะทะกันอย่างรุนแรงได้ทำให้มันหลอมรวมกันจนมีขนาดใหญ่ขึ้นๆ ตามลำดับ องค์ประกอบส่วนที่เป็นเหล็กซึ่งมีความหนาแน่นสูง ก็จะจมตัวลงไปรวมกันที่แกน การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีในโลกและความดันที่มากมหาศาลได้ทำให้แกนมีอุณหภูมิสูง จนแกน ส่วนนอกมีสภาพเป็นของเหลว และแกนส่วนในมีสภาพเป็นของแข็ง และเมื่อโลกหมุนรอบตัวเองตลอดเวลา การหมุนของโลกทำให้ เหล็กเหลวในบริเวณแกนส่วนนอกไหลวนไปมาด้วย และการไหลวนของเหล็กเหลวนี้เองที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์หลายคนคิดว่า คือสาเหตุที่ทำให้โลกมีสนามแม่เหล็กในตัว และถึงแม้ส่วนที่เป็นแกนกลางของโลกจะอยู่ไกลจากมนุษย์ถึง 2,800 กิโลเมตรก็ตาม แต่มันก็มีอิทธิพลต่อมนุษยชาติมาก เพราะการไหลของเหล็กเหลวที่อยู่ในบริเวณแกนส่วนนอกทำให้โลกมีสนามแม่เหล็กที่สามารถปกป้อง มิให้อนุภาคคอสมิกจากอวกาศหรือลมสุริยะจากดวงอาทิตย์พุ่งมาทำร้ายชีวิตทุกชนิดบนโลกได้ นอกจากนี้ลักษณะการไหลของ ของเหลวส่วนนี้ก็ยังมีอิทธิพลต่อการเคลื่อนที่ของทวีปที่ผิวโลก การระเบิดของภูเขาไฟ และความรุนแรงของเหตุการณ์แผ่นดินไหวด้วย ซึ่งปรากฏการณ์เหล่านี้จะร้ายแรงมากหรือน้อยเพียงใดก็ขึ้นกับว่า แกนกลางของโลกเรานั้นร้อนเพียงใดและปัญหานี้ก็คือปัญหาที่นักธรณี ฟิสิกส์ปัจจุบันกำลังสนใจ

    ในวารสาร Nature ฉบับที่ 401 ประจำวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2543 D. Alf&egrave; และคณะได้รายงานว่า เขามีวิธีวัด อุณหภูมิของแกนกลางโลก โดยอาศัยความรู้ที่ว่าเวลาเราลงไปในบ่อเหมือง เราจะรู้สึกว่าอุณหภูมิที่ก้นบ่อสูงกว่าอุณหภูมิที่ปากบ่อ สาเหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะโลกกำลังกำจัดความร้อนออกจากตัวในอัตรา 4.2 x 1013 จูล/วินาที (1 จูลคือพลังงานที่มวล 2 กิโลกรัม มีขณะที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 1 เมตร/วินาที) ดังนั้นสถานที่ใดที่อยู่ใกล้จุดศูนย์กลางของโลกก็ย่อมร้อนกว่าสถานที่ที่อยู่ไกลจาก จุดศูนย์กลางของโลกเป็นธรรมดา แต่ถ้า Alf&egrave; ใช้ข้อมูลอุณหภูมิที่แตกต่างกันตั้งแต่ 20-30 องศา ของบ่อเหมืองที่ลึก 1 กิโลเมตร เขาก็จะพบว่า ภายในระยะทางที่ลึกเพียง 200 กิโลเมตร อุณหภูมิจะสูงมากจนหินทั้งหลายละลายกลายเป็นไอหมด แต่ความจริงก็มีว่า ในชั้นที่เป็น mantle นั้น โลกใช้กระบวนการกำจัดความร้อนภายในโลก โดยวิธีการพาความร้อน (convection) ทำให้อุณหภูมิของหินชั้นต่างๆ ในโลกไม่สูงมากอย่างที่คิด

    เมื่อ Alf&egrave; สังเคราะห์ข้อมูลทางธรณีฟิสิกส์และธรณีเคมีเขาก็ได้พบว่า บริเวณรอยต่อระหว่าง mantle กับแกนกลางมี อุณหภูมิสูงประมาณ 2,500-3,00 องศาเคลวิน (2,227-2,727 องศาเซลเซียส) และเมื่อเขารู้ว่าแกนกลางส่วนในของโลกประกอบ ด้วยเหล็ก 90% และธาตุเบา เช่น กำมะถัน ออกซิเจน และไฮโดรเจนอีก 10% การมีธาตุอื่นผสมอยู่ด้วยเช่นนี้ ทำให้จุดหลอมเหลว ของเหล็กลดต่ำลง ผลการคำนวณที่ได้จากการพิจารณาของผสมที่มีทั้งเหล็กเหลวและเหล็กแข็งนี้ ทำให้เขารู้ว่าอุณหภูมิที่บริเวณรอยต่อ ระหว่างแกนส่วนในกับแกนส่วนนอก เท่ากับ 6,670 &plusmn; 600 องศาเคลวิน (6,399 &plusmn; 327 องศาเซลเซียส) อุณหภูมิที่บริเวณรอยต่อระหว่างแกนส่วนนอกกับ mantle สูงประมาณ 4,000 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิระหว่าง mantle กับเปลือกโลก มีค่าประมาณ 1,500 องศาเซลเซียส

    นอกจากประเด็นอุณหภูมิที่นักวิทยาศาตร์สนใจแล้วลักษณะการเคลื่อนไหวของแกนส่วนในของโลกก็ป็นปริศนาที่นักวิทยาศาสตร์ กำลังทุ่มเทความพยายามศึกษาเช่นกัน เพราะข้อมูลที่ได้จากการศึกษาคลื่นแผ่นดินไหว ได้ชี้บอกให้นักธรณีฟิสิกส์รู้ว่า แกนส่วนใน ที่เป็นเหล็กแข็งนั้นกำลังเพิ่มขนาดของมันตลอดเวลา ในอัตรา 2-3 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ซึ่งกระบวนการเพิ่มขนาดของแกนกลางนี้ ได้เริ่มต้นเมื่อประมาณ 2,000 ล้านปีมาแล้ว นอกจากนี้ในปี 2539 X. Song และ P.G. Richards แห่ง Lamont Doherty Earth Observatory ที่ Palisades ในรัฐนิวยอร์กได้ทำให้โลกตะลึง เมื่อเขาทั้งสองรายงานว่า แกนกลางที่เป็นเหล็กแข็งสามารถ หมุนรอบตัวเองได้อย่างอิสระ โดยเฉพาะบริเวณศูนย์สูตรของมันสามารถเคลื่อนได้เร็วกว่าเปลือกโลกถึง 1 แสนเท่าและด้วยความเร็วเช่นนี้ มันจะสามารถหมุนได้ครบหนึ่งรอบภายในเวลาประมาณ 400 ปี โดยนักวิทยาศาสตร์ทั้งสองได้ข้อสรุปนี้จากการเปรียบเทียบความเร็ว ของคลื่นแผ่นดินไหวที่เกิดในบริเวณ South Sandwich Islands แล้วเคลื่อนที่ทะลุผ่านแกนกลางของโลกสู่เครื่องรับสัญญาลักษณ์ ที่อะแลสกาในระหว่างปี 2510-2538 และ Song กับ Richards ก็ได้พบว่า ในบรรดาคลื่นแผ่นดินไหว 38 ลูกที่เขาตรวจพบนั้น คลื่นในปี 2538 ใช้เวลาเดินทางน้อยกว่าคลื่นปี 2510 ถึง 0.3 วินาที ซึ่งตัวเลขความแตกต่างนี้ Song อธิบายว่า เป็นผลที่เกิดจาก การที่แกนเหล็กของโลกได้หมุนไป ทำให้ความเร็วของคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านแกนเหล็กเปลี่ยนแปลงไปด้วย และอัตราการหมุนรอบตัวเอง ของแกนเหล็กเท่ากับ 0.2 องศา/ปี

    ทฤษฎีการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่ (Big Bang Theory) ตั้งขึ้นโดยนักดาราศาสตร์ชาวเบลเยี่ยม ชื่อ อับเบ จอร์จ ลือเมตเทรต (Abbe Georges Lemaitre) เมื่อปี พ.ศ. 2470 สรุปได้ว่า จักรวาลเกิดมาจากการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่ของสารที่อัดแน่นรวมกัน แรงระเบิดทำให้ชิ้นส่วนแตกละเอียดเป็นฝุ่นละอองและก๊าซร้อน กระเด็นออกไปทุกทิศทุกทาง ต่อมาเย็นตัวลงและเกาะรวมกันเป็นกาแลกซี และสิ่งอื่น ๆ รวมกันเป็นองค์ประกอบของจักรวาลในปัจจุบัน คาดว่าเกิดขึ้นมาแล้ว ประมาณ 15,000 – 20,000 ล้านปี

    ทำไมการกำเนิดของเอกภพจึงเป็น BIG BANG (การระเบิดใหญ่)

    ถ้าเอกภพกำลังขยายตัวก็แสดงว่าถ้าเราย้อนเวลากลับไปในอดีต เอกภพก็ต้องมีขนาดเล็กลงเรื่อยๆ ยิ่งย้อนเวลามากก็ยิ่งเล็กลง แล้วเมื่อเล็กลงอย่างที่สุดจะเกิดอะไรขึ้น เอกภพจะลดลงจนสลายไปหรือหวังว่าจะมีจุดหนึ่งที่เอกภพกำเนิด ไม่ว่าจะเป็นกรณีใดจะเห็นว่าเราจะต้องเกี่ยวข้องกับการเริ่มของเอกภพทั้งนั้น ผู้แรกที่เริ่มศึกษาปัญหาเหล่านี้อย่างจริงจังคือนักฟิสิกส์ซึ่งเกิดที่รัสเซียชื่อ กามอฟ แต่ภายหลังอพยพไปอยู่อเมริกาในช่วงปี 1948 ที่จริงกามอฟไม่ได้ตั้งใจที่จะคิดค้นเกี่ยวกับการเริ่มของเอกภพตั้งแต่ตอนแรก แต่ระหว่างที่เขากำลังคิดค้นเกี่ยวกับการเกิดของธาตุ เขาก็ได้บรรลุถึงข้อสรุปว่า เอกภพจะต้องเกิดขึ้นด้วย BIG BANG

    บิกแบง (Big Bang) คือชั่วขณะที่จุดเริ่มต้นของเอกภพตามแบบจำลองของเอกภพแบบหยึ่งที่มันได้ถือกำเนิดขึ้นด้วยการระเบิดหรือการขยายตัวอย่างรวดเร็วจากปริมาตรเป็นศูนย์

สมมติฐานเอกภพบิกแบงของกามอฟ

    ตามทฤษฎีเอกภพของฟรีดมานน์ ซึ่งได้มาจากการประยุกต์ทฤษฎีสัมพัทธภาพจะบอกได้ว่า เอกภพมีจุดเริ่ม ซึ่งก็คือเงื่อนไขเบื้องต้นถึงทฤษฎีสัมพัทธภาพจะบอกไม่ได้ว่าเงื่อนไขข้างต้นนี้มาจากไหน แต่มันก็บอกให้เรารู้ว่า เอกภพเริ่มกำเนิดโดยมีเงื่อนไขเบื้องต้น แต่อย่างไรก็ตามทฤษฎีนี้ไม่ได้บอกเราว่าเอกภพตอนเริ่มกำเนิดนั้นร้อนหรือเย็น แล้วทำไมกามอฟถึงคิดว่าเอกภพกำเนิดด้วยความร้อนสูง แต่เพื่อที่จะเข้าใจตรงนี้ก็ลองมาคิดกลับดูว่าทำไมเอกภพที่เย็นจึงเป็นไปไม่ได้เช่นกัน ถึงแม้โลกจะมีธาตุมากมายหลายชนิด เมื่อดูทั้งเอกภพจะเห็นว่าเกือบทั้งหมดเป็นธาตุไฮโดรเจน เพราะว่าไฮโดรเจนประกอบขึ้นจากโปรตอนและอิเล็กตรอน เราก็จะบอกได้ว่าตอนที่เอกภพกำเนิดและมีขนาดเล็กมาก อิเล็กตรอนจะรวมเข้าไปในโปรตอนกลายเป็นนิวตรอน นั่นก็คือเอกภพที่เย็น ในช่วงแรกจะเต็มไปด้วยนิวตรอนและเมื่อเอกภพขยายตัวขึ้น นิวตรอนจะสลายตัวแบบเบต้า กลายเป็นโปรตอนและ อิเล็กตรอน

    โปรตอนนั้นจะทำปฏิกิริยารวมตัวกับนิวตรอนกลายเป็นตัว ทีเรียม (ไฮโดรเจนหนัก) และดิวทีเรียมจะรวมตัวกับนิวตรอนเป็น ไตรเทียม ซึ่งจะสลายตัวแบบเบตา กลายเป็นฮีเลียม 3 และเมื่อนิวตรอนอีกตัวรวมกับฮีเลียม 3 ก็จะได้อะตอมฮีเลียม และปฏิกิริยานิวเคลียร์ก็จะเกิดต่อกันไป ธาตุหนักต่างๆ ก็จะเกิดขึ้นในเอกภพต่อๆ กันไปเช่นกัน แต่ในความเป็นจริงนั้นในเอกภพมีไฮโดรเจน 75% ฮีเลียม 24% และอีก 1% เป็นธาตุอื่นๆ นั่นก็คือเกือบทั้งหมดเป็นธาตุเบาสองธาตุ คือ ไฮโดรเจนและฮีเลียม ซึ่งขัดกับสมมติฐานของเอกภพเย็นข้างต้น เพราะฉะนั้นกามอฟจึงคิดว่าเพื่อให้ขั้นตอนการเกิดธาตุหนักไม่ติดต่อกันไป จะต้องคิดว่าเอกภพเมื่อกำเนิดนั้นมีอุณหภูมิสูงมาก ถ้าเอกภพร้อนถึงจะเกิดปฏิกิริยารวมตัวกัน แต่เพราะร้อนกันออกอีกและก็อธิบายได้ว่าทำไมธาตุหนักจึงหยุดแค่ฮีเลียมเท่านั้น และนี่ก็คือที่มาของความคิดสมมติฐานเอกภพบิกแบงของกามอฟ โดยที่ขอเน้นว่ากามอฟไม่ได้บอกว่าบิกแบงเป็นต้นเหตุของการขยายตัวของเอกภพเลย เพียงแต่บอกว่าเพื่อที่จะอธิบายกำเนิดและปริมาณธาตุในเอกภพ เอกภพจะต้องเกิดด้วยบิกแบงเท่านั้น

    การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

       4.3..1 มนุษย์ทำให้เปลือกโลกเปลี่ยนแปลง

    พื้นผิวโลกเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและทำมาหากินของมนุษย์ ตั้งแต่เริ่มมีมนุษย์ การดำรงชีพอย่างปกติ จำเป็นต้องมีปัจจัยพื้นฐานหลายประการยิ่งไปกว่านั้นมนุษย์ต้องพี่งพาอาศัยกันและกัน และอาศัยสิ่งแวดล้อมไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม

    การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก

    แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ตลอดเวลาด้วยอัตราเร็ว 0.5 นิ้ว ต่อปี บางแห่งอาจถึง 6 นิ้ว ต่อปีสิ่งที่ทำให้เปลือกโลกเคลื่อนที่ได้แก่

       1. การเคลื่อนที่ของหินหนืด (Magma) Magma จัดเป็นหินหนืดในชั้นแมนเทิลสามารถอธิบายได้โดย ทฤษฎีพลูม (Plume Theory) โดยนายเจสัน มอร์แกน (Jason Morgan) โดยตั้งสมมุติฐานว่ามีจุดร้อน (Plume) ของมวลที่แข็งและร้อนของ Magma ปูดนูนขึ้นมา มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 200-300 กิโลเมตร ทำให้เกิดการขยายตัวของแผ่นเปลือกโลกชั้นใน พบว่ามี 20 จุด โดยแรงดัน ดันขึ้นตามแนวดิ่ง ทำให้เกิดการไหลของหินหนืดทำให้เกิด แรงดันและพยุงที่เกิดจากหินหนืดในชั้นในแมนเทิล โดยนาย Mathews และนาย Vine เสนอว่า แผ่นเปลือกโลกที่อยู่ใต้สมุทรมีความหนาแน่นมากกว่าบริเวณทวีป ทำให้ Magma แทรกตัวขึ้นมาตามรอยแยก Magma จึงทำหน้าที่ดันและพยุงแผ่นเปลือกโลกใต้สมุทรให้แยกออกจากกัน เลยทำให้ทวีปยุโรปกับอเมริกาแยกจากกันไปด้วย เรียกว่า Spleding Zone เช่น เกิดกลางมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นรอยแยกระหว่างแผ่นอเมริกากับแผ่นยูเรเซีย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 420 คน กำลังออนไลน์