• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9e1de5950bc963ca9e4b76a37c550ade' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong> คำประสม</strong>\n</p>\n<p>\n<strong>คำประสม </strong>คือคำที่เกิดจากการประกอบคำมูลที่มีความหมายต่างกันตั้งแต่สองคำขึ้นไป และมีความหมายใหม่ซึ่งใกล้เคียงกับความหมายของคำมูลเดิม หรือมีความหมายเป็นเชิงอุปมาหรือโดยนัย แต่ยังมีเค้าความหมายของคำมูลเดิม เช่น พัดลม เตารีด ไฟฟ้า ตู้เย็น ลูกคิด ตากล้อง ผู้แทน เรือบิน รถราง น้ำอัดลม ฯลฯ\n</p>\n<p>\n         <b>การสร้างคำประสม </b>มีความมุ่งหมายเพื่อให้เกิดคำใหม่เพิ่มขึ้น เป็นคำที่มีความหมายเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง มีรูปคำพอที่เข้าใจความหมายกันได้ทั่วไป <a href=\"http://null/wiki/index.php/%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5\" title=\"คำมูล\"><span style=\"color: #000000\">คำมูล </span></a>ที่นำมาประสมกันอาจเป็น นาม สรรพนาม กริยา วิเศษณ์ และ บุพบท ก็ได้เช่น\n</p>\n<p>\n<br />\nนาม กับ น   หัวใจ รถไฟ หมูป่า\n</p>\n<p>\nกริยา กับ กริยา   ต้มยำ ขายฝาก กันสาด\n</p>\n<p>\nวิเศษณ์ กับ นาม   หลายใจ สองหัว\n</p>\n<p>\nบุพบท กับ นาม   นอกคอก ใต้เท้า\n</p>\n<p>\n         คำมูลที่นำมาประสมกัน อาจเป็นคำที่มาจากภาษาใดก็ได้ อาจเป็นคำไทยกับคำไทย คำไทยกับคำที่มาจากภาษาอื่น หรือเป็นคำที่มาจากภาษาอื่นทั้งหมด เช่น\n</p>\n<p>\nคำไทย กับ คำไทย ทางด่วน ผ้ากันเปื้อน เรือหางยาว\n</p>\n<p>\nคำไทยกับคำที่มาจากภาษาอื่น ผงชูรส ผ้าอนามัย การทางพิเศษ\n</p>\n<p>\n<b>คำประสมที่เกิดความหมายใหม่ขึ้นจะมีความสัมพันธ์กับความหมายเดิมในลักษณะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ </b>\n</p>\n<p>\n<br />\n         1. ความหมายของคำประสมมีเค้าความหมายเดิมของคำมูลมารวมกันโดยตรง เช่น รองเท้า ไม้แขวนเสื้อ ไม้กวาด\n</p>\n<p>\n         2. ความหมายของคำประสมในทำนองเปรียบเทียบ เช่น หางเสือ ลูกเสือ หัวแข็ง ปากแข็ง ปากกา และบางคำเป็นสำนวน เช่น ยกเมฆ ชักดาบ โคมลอย น้ำพักน้ำแรง ล่มหัวจมท้าย ฯลฯ\n</p>\n<p>\n         3. คำประสมที่เกิดจากนำคำมูลที่มีความหมายใกล้เคียงกัน หรือความหมาย คล้ายกันมาซ้อนกันเป็นคำขึ้นเช่น ว่องไว ว่ากล่าว เหลียวแล ช้านาน ถ้อยคำ วิ่งเต้น รูปภาพ เรือนหอ ฯลฯ\n</p>\n<p>\n         4. นำคำมูลที่มีความหมายกว้าง ๆ มาประสมกับคำมูลคำอื่น ๆ ทำให้เกิดความหมายเฉพาะขึ้น เช่น\n</p>\n<p>\n<br />\nชาว (ย่อมาจากผู้ที่อยู่) เช่น ชาวบ้าน ชาวเขา ชาวเกาะ\n</p>\n<p>\nนัก (ย่อมาจากผู้ที่กระทำ) เช่น นักเรียน นักร้อง นักดนตรี\n</p>\n<p>\nเครื่อง (ย่อมาจากสิ่งที่ประกอบกันหรือของที่เข้าสำรับกัน) เช่น เครื่องยนต์ เครื่องจักร เครื่องกีฬา เครื่องเขียน\n</p>\n<p>\nช่าง (ย่อมาจากผู้ที่ชำนาญ) เช่น ช่างกล ช่างยนต์ ช่างเครื่อง\n</p>\n<p>\nที่ (ย่อมาจากตำแหน่งหรือถิ่น) เช่น ที่นอน ที่อยู่ ผู้ เช่น ผู้หญิง ผู้ใหญ่ ผู้น้อย\n</p>\n<p>\n<br />\n<b>ข้อสังเกตคำประสม </b>\n</p>\n<p>\n<br />\n         1. คำประสมจะเป็นวิทยาการสมัยใหม่ เช่น เตารีด หม้อหุงข้าวไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ พัดลม ตู้เย็น เครื่องอบผ้า เครื่องซักผ้า เครื่องดูดฝุ่น ฯลฯ\n</p>\n<p>\n         2. คำประสมเป็นคำเดียวกันจะแยกออกจากกันไม่ได้ ความหายจะไม่เหมือนเดิม เช่น นางแบบ รับรอง มนุษย์กบ คำประสมจะเป็นคำใหม่เกิดขึ้น\n</p>\n<p>\n         3.วิธีสังเกตค่ำประสมนักจะมีลักษณะนามให้เห็นอย่างเด่นชัด เช่น ใบนี้ คนนี้ ชุดนี้ ฯลฯ เช่น วันนี้ไม่มีคนใช้คนนี้เลย (คำประสม)\n</p>\n<p>\n         4.คำประสมที่ขึ้นตนด้วยคำว่า “ลูก แม่” ต้องหมายถึงคนจึงจะเป็นคำประสม เช่น ลูกเสือ (คน) แม่มด (คน) ถ้าเป็นลูกของเสือ แม่ของมด จะเป็นคำเรียงกันธรรมดา ยกเว้นลูกน้ำเป็นคำประสม เพราะมีความหมายเปลี่ยนไป ไม่ใช่ลูกของน้ำ แต่เป็นลูกของยุง เป็นต้น\n</p>\n', created = 1728228559, expire = 1728314959, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9e1de5950bc963ca9e4b76a37c550ade' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คำประสม_41

 คำประสม

คำประสม คือคำที่เกิดจากการประกอบคำมูลที่มีความหมายต่างกันตั้งแต่สองคำขึ้นไป และมีความหมายใหม่ซึ่งใกล้เคียงกับความหมายของคำมูลเดิม หรือมีความหมายเป็นเชิงอุปมาหรือโดยนัย แต่ยังมีเค้าความหมายของคำมูลเดิม เช่น พัดลม เตารีด ไฟฟ้า ตู้เย็น ลูกคิด ตากล้อง ผู้แทน เรือบิน รถราง น้ำอัดลม ฯลฯ

         การสร้างคำประสม มีความมุ่งหมายเพื่อให้เกิดคำใหม่เพิ่มขึ้น เป็นคำที่มีความหมายเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง มีรูปคำพอที่เข้าใจความหมายกันได้ทั่วไป คำมูล ที่นำมาประสมกันอาจเป็น นาม สรรพนาม กริยา วิเศษณ์ และ บุพบท ก็ได้เช่น


นาม กับ น   หัวใจ รถไฟ หมูป่า

กริยา กับ กริยา   ต้มยำ ขายฝาก กันสาด

วิเศษณ์ กับ นาม   หลายใจ สองหัว

บุพบท กับ นาม   นอกคอก ใต้เท้า

         คำมูลที่นำมาประสมกัน อาจเป็นคำที่มาจากภาษาใดก็ได้ อาจเป็นคำไทยกับคำไทย คำไทยกับคำที่มาจากภาษาอื่น หรือเป็นคำที่มาจากภาษาอื่นทั้งหมด เช่น

คำไทย กับ คำไทย ทางด่วน ผ้ากันเปื้อน เรือหางยาว

คำไทยกับคำที่มาจากภาษาอื่น ผงชูรส ผ้าอนามัย การทางพิเศษ

คำประสมที่เกิดความหมายใหม่ขึ้นจะมีความสัมพันธ์กับความหมายเดิมในลักษณะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้


         1. ความหมายของคำประสมมีเค้าความหมายเดิมของคำมูลมารวมกันโดยตรง เช่น รองเท้า ไม้แขวนเสื้อ ไม้กวาด

         2. ความหมายของคำประสมในทำนองเปรียบเทียบ เช่น หางเสือ ลูกเสือ หัวแข็ง ปากแข็ง ปากกา และบางคำเป็นสำนวน เช่น ยกเมฆ ชักดาบ โคมลอย น้ำพักน้ำแรง ล่มหัวจมท้าย ฯลฯ

         3. คำประสมที่เกิดจากนำคำมูลที่มีความหมายใกล้เคียงกัน หรือความหมาย คล้ายกันมาซ้อนกันเป็นคำขึ้นเช่น ว่องไว ว่ากล่าว เหลียวแล ช้านาน ถ้อยคำ วิ่งเต้น รูปภาพ เรือนหอ ฯลฯ

         4. นำคำมูลที่มีความหมายกว้าง ๆ มาประสมกับคำมูลคำอื่น ๆ ทำให้เกิดความหมายเฉพาะขึ้น เช่น


ชาว (ย่อมาจากผู้ที่อยู่) เช่น ชาวบ้าน ชาวเขา ชาวเกาะ

นัก (ย่อมาจากผู้ที่กระทำ) เช่น นักเรียน นักร้อง นักดนตรี

เครื่อง (ย่อมาจากสิ่งที่ประกอบกันหรือของที่เข้าสำรับกัน) เช่น เครื่องยนต์ เครื่องจักร เครื่องกีฬา เครื่องเขียน

ช่าง (ย่อมาจากผู้ที่ชำนาญ) เช่น ช่างกล ช่างยนต์ ช่างเครื่อง

ที่ (ย่อมาจากตำแหน่งหรือถิ่น) เช่น ที่นอน ที่อยู่ ผู้ เช่น ผู้หญิง ผู้ใหญ่ ผู้น้อย


ข้อสังเกตคำประสม


         1. คำประสมจะเป็นวิทยาการสมัยใหม่ เช่น เตารีด หม้อหุงข้าวไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ พัดลม ตู้เย็น เครื่องอบผ้า เครื่องซักผ้า เครื่องดูดฝุ่น ฯลฯ

         2. คำประสมเป็นคำเดียวกันจะแยกออกจากกันไม่ได้ ความหายจะไม่เหมือนเดิม เช่น นางแบบ รับรอง มนุษย์กบ คำประสมจะเป็นคำใหม่เกิดขึ้น

         3.วิธีสังเกตค่ำประสมนักจะมีลักษณะนามให้เห็นอย่างเด่นชัด เช่น ใบนี้ คนนี้ ชุดนี้ ฯลฯ เช่น วันนี้ไม่มีคนใช้คนนี้เลย (คำประสม)

         4.คำประสมที่ขึ้นตนด้วยคำว่า “ลูก แม่” ต้องหมายถึงคนจึงจะเป็นคำประสม เช่น ลูกเสือ (คน) แม่มด (คน) ถ้าเป็นลูกของเสือ แม่ของมด จะเป็นคำเรียงกันธรรมดา ยกเว้นลูกน้ำเป็นคำประสม เพราะมีความหมายเปลี่ยนไป ไม่ใช่ลูกของน้ำ แต่เป็นลูกของยุง เป็นต้น

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 457 คน กำลังออนไลน์