• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:15267ccb7b6bf7f681a0d263dc728fda' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n                                                                        <strong>  <u>ภาวะโลกร้อน</u></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 10pt\">      ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุหลักของปัญหานี้ มาจาก ก๊าซเรือนกระจก ค่ะ (Greenhouse gases)</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 10pt\">ปรากฏการณ์เรือนกระจก มีความสำคัญกับโลก เพราะก๊าซจำพวก คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ มีเทน จะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้ในในโลก ไม่ให้สะท้อนกลับสู่บรรยากาศทั้งหมด มิฉะนั้น โลกจะกลายเป็นแบบดวงจันทร์ ที่ตอนกลางคืนหนาวจัด (และ ตอนกลางวันร้อนจัด เพราะไม่มีบรรยากาศ กรองพลังงาน จาก ดวงอาทิตย์) ซึ่งการทำให้โลกอุ่นขึ้นเช่นนี้ คล้ายกับหลักการของ เรือนกระจก (ที่ใช้ปลูกพืช) จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) ค่ะ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 10pt\">แต่การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของ CO2 ที่ออกมาจาก โรงงานอุตสาหกรรม รถยนต์ หรือการกระทำใดๆที่เผา เชื้อเพลิงฟอสซิล (เช่น ถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ หรือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ) ส่งผลให้ระดับปริมาณ CO2 ในปัจจุบันสูงเกิน 300 ppm (300 ส่วน ใน ล้านส่วน) เป็นครั้งแรกในรอบกว่า 6 แสนปี</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 10pt\">ซึ่ง คาร์บอนไดออกไซด์ ที่มากขึ้นนี้ ได้เพิ่มการกักเก็บความร้อนไว้ในโลกของเรามากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดเป็น ภาวะโลกร้อน ดังเช่นปัจจุบัน</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 10pt\">ภาวะโลกร้อนภายในช่วง 10 ปีนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 มานี้ ได้มีการบันทึกถึงปีที่มีอากาศร้อนที่สุดถึง 3 ปีคือ ปี พ.ศ. 2533, พ.ศ.2538 และปี พ.ศ. 2540 แม้ว่าพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ยังมีความไม่แน่นอนหลายประการ แต่การถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ได้เปลี่ยนหัวข้อจากคำถามที่ว่า &quot;โลกกำลังร้อนขึ้นจริงหรือ&quot; เป็น &quot;ผลกระทบจากการที่โลกร้อนขึ้นจะส่งผลร้ายแรง และต่อเนื่องต่อสิ่งที่มีชีวิตในโลกอย่างไร&quot; ดังนั้น ยิ่งเราประวิงเวลาลงมือกระทำการแก้ไขออกไปเพียงใด ผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะยิ่งร้ายแรงมากขึ้นเท่านั้น และบุคคลที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุดก็คือ ลูกหลานของพวกเราเอง</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 10pt\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 10pt\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 10pt\"><span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif\"><strong>                                                          </strong>     <strong>    <u> เซลล์พืช</u></strong></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 10pt\"></span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span>ส่วนประกอบของเซลล์พืช</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีขนาดเล็กมาก ภายในมีโครงสร้างมากมายดังนี้<br />\n<span>              <span style=\"color: #000000\"> </span><span style=\"color: #000000\"> </span></span></span></span><strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: red; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\">1.<span> <u>ผนังเซลล์ </u></span>(Cell Wall )</span></span></strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"> </span><span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">เซ</span>ลล์</span><span style=\"color: #000000\">ทั่วไปประกอบด้วยสารพวกเซลลูโลสเป็นหลัก ทำหน้าที่ห่อหุ้มป้องกัน<br />\nอันตรายให้แก่เซลล์พืช ให้เซลล์คงรูปเพิ่มความแข็งแรง เซลล์ของสัตว์ไม่มีผนังเซลล์ แต่เซลล์สัตว์บางชนิดอาจมีสาร<br />\nเคลือบเยื่อหุ้มเซลล์ได้ มีลักษณะแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดของเซลล์นั้น ๆ เช่น เปลือกกุ้ง กระดองปู มีสารเคลือบพวก<br />\n<span style=\"color: blue\"><span style=\"color: #000000\">ไกลโคโปรตีน </span></span><span style=\"color: blue\"><span style=\"color: #000000\">(Glycoprotein)</span> <span> </span></span></span></span><span style=\"color: black\"><span style=\"color: #000000\">เซลล์พวกไดอะตอม มีสารเคลือบเป็นพวก ซิลิกา สารเคลือบเหล่านี้มีประโยชน์ทำให้<br />\nเซลล์คงรูปร่างได้</span></span></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span><span style=\"color: #000000\">                </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span>           <span style=\"color: #000000\">    </span></span></span><strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: red; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\">2.<span> <u>เยื่อหุ้มเซลล์</u> </span>(Cell Membrane)</span></span></strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: red; font-size: 10pt\"> </span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: black; font-size: 10pt\">เป็นเยื่อบาง ๆ ประกอบด้วยโปรตีน และไขมัน ทำหน้าที่ควบคุม<br />\nปริมาณ และชนิดของสารที่ผ่านเข้าออกจากเซลล์ และมีรูเล็ก ๆ เพื่อให้สารบางอย่างผ่านเข้าออกได้ และไม่ให้สารบาง<br />\nอย่างผ่านเข้าออกจากเซลล์ จึงมีสมบัติเป็นเยื่อบางๆ </span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: black; font-size: 10pt\">(Semipermeable Membrane)</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: black; font-size: 10pt\"></span></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><br />\n<span><span style=\"color: #000000\">                </span></span></span><strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: red; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\">3. <u><span>ไซโทพลาซึม</span></u><span> </span>(Cytoplasm)</span></span></strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"> </span><span><span style=\"color: #000000\">เป็นส่วนประกอบที่เป็นของเหลวอยู่ภายในเซลล์ มีสารที่ละลายน้ำได้<br />\nเช่น โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ ฯลฯ ประกอบด้วยหน่วยเล็ก ๆ ที่สำคัญหลายชนิด ดังนี้</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span>              <span style=\"color: #000000\">  </span></span></span><strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\">3.1</span><span><span style=\"color: #000000\"> ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)</span></span><span style=\"color: #000000\"> </span></span></strong></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\">เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะยาวรีเป็นแหล่งผลิตสาร</span><br />\n<span style=\"color: #000000\">ที่มีพลังงานสูงให้แก่เซลล์</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span></p>\n<p>\n<br />\n<span>               <span style=\"color: #000000\"> </span></span><span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\">3.</span><span style=\"color: #000000\">2 <span>คลอโรพลาส </span>(Chloroplast)</span> </span></strong></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\">เป็นโครงสร้างพบเฉพาะในเซลล์พืช มองเห็นเป็นสีเขียว<br />\nเพราะมีสารพวกคลอโรฟิลล์ ซึ่งไม่ดูดกลืนแสงสีเขียว คลอโรฟิลล์เป็นสาระสำคัญที่ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์<br />\nด้วยแสง</span></span><strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\">3.3 <span>ไรโบโซม </span>(Ribosome</span><span style=\"color: #000000\">)</span></span></strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"> </span><span><span style=\"color: #000000\">เป็นโครงสร้างที่มีขนาด</span><span style=\"color: #000000\">เล็ก เป็นแหล่งที่มีการสังเคราะห์<br />\nโปรตีนเพื่อส่งออกไปใช้นอกเซลล์</span></span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span><span style=\"color: #000000\"><br />\n<strong><span> </span><span>           </span></strong><strong>3.4 <span>กอลจิคอมเพลกซ์ </span>(Golgi Complex) </strong></span></span><span><span style=\"color: #000000\">เป็นโครงสร้างที่เป็นถุงแบน ๆ คล้ายจานซ้อน<br />\nกันเป็นชั้น ๆ หลายชั้น ทำหน้าที่สร้างสารคาร์โบไฮเดรตที่รวมกับโปรตีน แล้วส่งออกไปใช้ภายในเซลล์</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span>             <span style=\"color: #000000\">  </span></span></span><strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\">3.5 <span>เซนตริโอล </span>(Centriole</span><span style=\"color: #000000\">)</span></span></strong></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"> </span><span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">พบ</span>เฉพาะในเซลล์สัตว์ และโพรติสต์บางชนิด มีหน้าที่เกี่ยวกับ<br />\nการแบ่งเซลล์</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span>           <span style=\"color: #000000\">   </span></span></span><strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\">3.6 <span>แวคิวโอล </span>(Vacuole</span><span style=\"color: #000000\">) </span></span></strong></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">เป็น</span>โครงสร้างที่มีช่องว่างชนาดใหญ่มากในเซลล์พืช ภายในมีสาร</span><span style=\"color: #000000\"><br />\nพวกน้ำมัน ยาง และแก๊สต่าง ๆ </span></span>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 0.5in\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: red; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\">4. </span><span><span style=\"color: #000000\">นิวเคลียส</span> </span></span></strong><strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: black; font-size: 10pt\">(Nucleus)</span></strong></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"> </span><span><span style=\"color: #000000\">อยู่ตรงการเซลล์ เซลล์ส่วนใหญ่มีนิวเคลียส ยกเว้นเซลล์บางชนิด เช่น เซลล์เม็ด <br />\nเลือดแดงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และเซลล์ลำเลียงอาหารของพืช เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่จะไม่มีนิวเคลียส <br />\n<span>                </span>นิวเคลียสทำหน้าที่ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ควบคุมการสังเคราะห์สารประกอบของเซลล์ ส่วนประกอบ<br />\nของนิวเคลียสมีดังนี้</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: black; font-size: 10pt\"><span></span></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"></span></p>\n<p style=\"text-indent: 0.5in\" class=\"MsoNormal\">\n<br />\n<span><span style=\"color: #000000\">                </span></span><strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\">4.1 <span>นิวคลีโอพลาซึม </span>(Nucleoplasm)</span></span></strong><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"> </span><span style=\"color: #000000\"><span>เป็นของเหลวภายในนิวเคลียส เป็นส่วนที่ใส ไม่มีสี<br />\nประกอบด้วยเม็ดสารเล็ก ๆ ที่มีรูปร่างไม่แน่นอน</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"><span></span></span></span></p>\n<p style=\"text-indent: 0.5in\" class=\"MsoNormal\">\n<br />\n<span>                </span><strong>4.2 <span>ร่างแหนิวเคลียส</span></strong><span style=\"color: #000000\"><span> มีโครงสร้างเป็นเส้นที่สานกันเป็นร่างแห เมื่อเซลล์มีการแบ่งตัว ร่างแหนิวเคลียส<br />\nจะเปลี่ยนเป็นร่างแหโครโมโซม ซึ่งประกอบด้วย </span>DNA <span>หรือยีน </span>(gene) </span><span style=\"color: #000000\"><span>ซึ่งมีสารพันธุกรรมประกอบอยู่ และเป็นตัวควบคุม<br />\nการแสดงออกถึงลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต</span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p style=\"text-indent: 0.5in\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span><br />\n<span>                </span></span><strong>4.3 <span>นิวคลีโอลัส </span>(Nucleolus)</strong> <span>เป็นตำแหน่งที่ติดสีเคมีบนไครโมโซม ประกอบด้วยสารประเภท </span>DNA<br />\nTNA <span>ซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับกลไกการสร้างโปรตีน</span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p style=\"text-indent: 0.5in\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-indent: 0.5in\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p><a rel=\"tag\" href=\"http://www.sema.go.th/taxonomy/term/25\" class=\"taxonomy_term_25\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></a></p>\n<div class=\"content\">\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span>     <span style=\"color: #000000\">                                                                                  <strong>    </strong></span><a href=\"http://www.sema.go.th/node/3804\"><u><span style=\"color: #000000\"><strong>พลังงาน</strong></span></u></a><span style=\"color: #000000\"> </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span></span></span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif; color: #000000; font-size: small\">คำว่า &quot; พลังงาน &quot; หมายถึง ความสามารถในการทำงานซึ่งมีอยู่ในตัวของสิ่งที่อาจให้งานได้โดยการทำให้วัตถุ หรือธาตุเกิดการเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนรูปแบบไปได้ การที่วัตถุเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ ก็เพราะมีแรงหรือพลังงานเข้าไปกระทำพลังงานหรือความสามารถในการทำงานได้นี้ นอกจากสิ่งมีชีวิตจะใช้พลังงาน ซึ่งอยู่ในรูปของสารอาหารในการดำรงชีวิตโดยตรงแล้ว สิ่งมีชีวิตยังต้องใช้พลังงานในรูปแบบลักษณะอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการดำรงชีวิตประจำวันอีกในหลายรูปแบบ เช่น ทางด้านแสงสว่าง ความร้อน ไฟฟ้า เป็นต้นทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ก็คือ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif; font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><strong>1. พลังงานประเภทที่เกิดทดแทนใหม่ได้ ( พลังงานหมุนเวียน )</strong> ได้แก่ พลังงานจากฟืน และถ่าน แกลบ กากอ้อย พลังงานลม พลังงานจากชีวมวลพลังงานความร้อนใต้พิภพ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #000000; font-size: small\"><strong><span style=\"color: #000000\">2. พลังงานประเภทที่ใช้แล้วหมดไป เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ</span> ถ่านหิน ฯลฯ</strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #000000; font-size: small\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #000000; font-size: small\"></span></strong>\n</p>\n<p></p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span>                                                                              <strong>         </strong><a href=\"http://www.sema.go.th/node/3803\"><u><span style=\"color: #000000\"><strong>ระบบสุริยะ</strong></span></u></a> </span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span><span style=\"color: #000000\"><strong>ระบบสุริยะ (Solar System) <br />\n</strong>    ระบบสุริยะที่โลกของเราอยู่เป็นระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ (The sun) เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์ (Planets) 9 ดวง ที่เราเรียกกันว่า ดาวนพเคราะห์ ( นพ แปลว่า เก้า)   เรียงตามลำดับ จากในสุดคือ ดาวพุธ  ดาวศุกร์  โลก   ดาวอังคาร  ดาวพฤหัส    ดาวเสาร์   ดาวยูเรนัส    ดาวเนปจูน   ดาวพลูโต และยังมีดวงจันทร์บริวารของ ดวงเคราะห์แต่ละดวง (sattelites) ยกเว้นเพียง สองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ ที่ไม่มีบริวาร นอกจากนี้ยังมี ดาวเคราะห์น้อย (Minor planets) ดาวหาง (Comets) อุกกาบาต (Meteorites) ตลอดจนกลุ่มฝุ่นและก๊าซ ซึ่งเคลื่อนที่อยู่ในวงโคจร ภายใต้อิทธิพลแรงดึงดูด จากดวงอาทิตย์ ขนาดของระบบสุริยะ กว้างใหญ่ไพศาลมาก  เมื่อเทียบระยะทาง ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ซึ่งมีระยะทางประมาณ 149 ล้านกิโลเมตร หรือ 1 หน่วยดาราศาสตร์ (astronomy unit - au)  กล่าวคือ ระบบสุริยะมีระยะทางไกลไปจนถึงวงโคจร ของดาวพลูโตดาวเคราะห์ที่มีขนาดเล็กที่สุดในระบบสุริยะ ซึ่งอยู่ไกลเป็นระยะทาง 40 เท่าของ 1 หน่วยดาราศาสตร์ และยังไกลห่างออก ไปอีกจนถึงดงดาวหางอ๊อต (Oort\'s Cloud) ซึ่งอาจอยู่ไกลถึง 500,000 เท่า ของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ด้วย <br />\n     ดวงอาทิตย์มีมวลมากกว่าร้อยละ 99 ของมวลทั้งหมดในระบบสุริยะ ที่เหลือนอกนั้นจะเป็นมวลของ เทหวัตถุต่างๆ ซึ่ง ประกอบด้วยดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และอุกกาบาต รวมไปถึงฝุ่นและก๊าซ ที่ล่องลอยระหว่าง ดาวเคราะห์ แต่ละดวง โดยมีแรงดึงดูด (Gravity) เป็นแรงควบคุมระบบสุริยะ ให้เทหวัตถุบนฟ้าทั้งหมด เคลื่อนที่เป็นไปตามกฏแรง แรงโน้มถ่วงของนิวตัน ดวงอาทิตย์แพร่พลังงาน ออกมา ด้วยอัตราประมาณ 90,000,000,000,000,000,000,000,000 แคลอรีต่อวินาที เป็นพลังงานที่เกิดจากปฏิกริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ โดยการเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม ซึ่งเป็นแหล่งความร้อนให้กับดาว ดาวเคราะห์ต่างๆ ถึงแม้ว่าดวงอาทิตย์จะเสียไฮโดรเจนไปถึง 4,000,000 ตันต่อวินาทีก็ตาม แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ยังมีความเชื่อว่าดวงอาทิตย์ จะยังคงแพร่พลังงานออกมาในอัตราที่เท่ากันนี้ได้อีกนานหลายพันล้านปี<br />\n     ชื่อของดาวเคราะห์ทั้ง 9 ดวงยกเว้นโลก ถูกตั้งชื่อตามเทพของชาวกรีก เพราะเชื่อว่าเทพเหล่านั้นอยู่บนสรวงสวรค์ และเคารพบูชาแต่โบราณกาล ในสมัยโบราณจะรู้จักดาวเคราะห์เพียง 5 ดวงเท่านั้น(ไม่นับโลกของเรา) เพราะสามารถเห็นได้ ด้วยตาเปล่าคือ ดาวพุธ   ดาวศุกร์  ดาวอังคาร   ดาวพฤหัส   ดาวเสาร์   ประกอบกับดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ รวมเป็น 7 ทำให้เกิดวันทั้ง 7 ในสัปดาห์นั่นเอง และดาวทั้ง 7 นี้จึงมีอิทธิกับดวงชะตาชีวิตของคนเรา ตามความเชื่อถือทางโหราศาสตร์   ส่วนดาวเคราะห์อีก 3 ดวงคือ ดาวยูเรนัส   ดาวเนปจูน    ดาวพลูโต ถูกคนพบภายหลัง แต่นักดาราศาสตร์ก็ตั้งชื่อตามเทพของกรีก เพื่อให้สอดคล้องกันนั่นเอง</span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span>                                                                                    <strong> </strong><a href=\"http://www.sema.go.th/node/3801\"><u><span style=\"color: #000000\"><strong>อาณาจักรสิ่งมีชีวิต</strong></span></u></a> </span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span><span style=\"color: #000000\">นักชีววิทยาได้จำแนกสิ่งมีชีวิตทั้งหลายในโลกนี้ ออกเป็นหมวดหมู่ใหญ่ๆ แตกต่างกันหลายแนวความคิด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนก ในบทเรียนนี้นักเรียนจะได้ศึกษาการจำแนกสิ่งมีชีวิตต่างๆตามแนวความคิดของ อาร์ เอช  วิทเทเคอร์  (R.H. Whittaker)  ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 อาณาจักร</span> </span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span>                                                                                    <strong>      </strong><a href=\"http://www.sema.go.th/node/3795\"><u><span style=\"color: #000000\"><strong>Petroleum</strong></span></u></a> </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; color: blue; font-size: 10pt\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span></span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong>ปิโตรเลียม</strong> (petroleum จาก</span><a href=\"http://www.sema.go.th/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%81\" title=\"ภาษากรีก\"><span style=\"color: #000000\"><u>ภาษากรีก</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> petra – </span><a href=\"http://www.sema.go.th/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99\" title=\"หิน\"><span style=\"color: #000000\"><u>หิน</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> และ elaion – </span><a href=\"http://www.sema.go.th/wiki/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99\" title=\"น้ำมัน\"><span style=\"color: #000000\"><u>น้ำมัน</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> หรือ</span><a href=\"http://www.sema.go.th/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%99\" title=\"ภาษาละติน\"><span style=\"color: #000000\"><u>ภาษาละติน</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> oleum – </span><a href=\"http://www.sema.go.th/wiki/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99\" title=\"น้ำมัน\"><span style=\"color: #000000\"><u>น้ำมัน</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> ) หรือ<strong>น้ำมันดิบ</strong> บางครั้งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ทองคำสีดำ หรือ &quot;น้ำชาเท็กซัส&quot; คือของเหลวขุ่นข้นสีน้ำตาลเข้มหรือเขียวเข้ม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ปิโตรเลียม เป็นทรัพยากรธรรรมชาติที่สามารถพบได้ในชั้นหินในบางพื้นที่บน</span><a href=\"http://www.sema.go.th/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81\" title=\"เปลือกโลก\"><span style=\"color: #000000\"><u>เปลือกโลก</u></span></a><span style=\"color: #000000\">และประกอบไปด้วยสารประกอบโครงสร้างซับซ้อนของ</span><a href=\"http://www.sema.go.th/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%AE%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%99\" title=\"ไฮโดรคาร์บอน\"><span style=\"color: #000000\"><u>ไฮโดรคาร์บอน</u></span></a><span style=\"color: #000000\"> โดยส่วนมากมักจะเป็น</span><a href=\"http://www.sema.go.th/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%99\" title=\"อัลเคน\"><span style=\"color: #000000\"><u>อัลเคน</u></span></a><span style=\"color: #000000\">แต่อาจจะแพร่หลายในรูปลักษณะ และสารประกอบ โดยมากปิโตรเลียมนั้นจะนำมาใช้ในการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง เช่น และ ผลผลิตทั้งสองนั้นเป็นในขณะนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ปิโตรเลียมเป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตภัณฑ์</span><a href=\"http://www.sema.go.th/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%B5\" title=\"เคมี\"><span style=\"color: #000000\"><u>เคมี</u></span></a><span style=\"color: #000000\">มากมาย รวมไปถึง</span><a href=\"http://www.sema.go.th/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2\" title=\"สารละลาย\"><span style=\"color: #000000\"><u>สารละลาย</u></span></a><span style=\"color: #000000\">   และ</span><a href=\"http://www.sema.go.th/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81\" title=\"พลาสติก\"><span style=\"color: #000000\"><u>พลาสติก</u></span></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.sema.go.th/taxonomy/term/2,12\"></a>\n</p>\n<p>\n</p></div>\n<p></p>\n', created = 1729411524, expire = 1729497924, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:15267ccb7b6bf7f681a0d263dc728fda' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วิทยาศาสตร์ 38

                                                                          ภาวะโลกร้อน

      ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุหลักของปัญหานี้ มาจาก ก๊าซเรือนกระจก ค่ะ (Greenhouse gases)

ปรากฏการณ์เรือนกระจก มีความสำคัญกับโลก เพราะก๊าซจำพวก คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ มีเทน จะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้ในในโลก ไม่ให้สะท้อนกลับสู่บรรยากาศทั้งหมด มิฉะนั้น โลกจะกลายเป็นแบบดวงจันทร์ ที่ตอนกลางคืนหนาวจัด (และ ตอนกลางวันร้อนจัด เพราะไม่มีบรรยากาศ กรองพลังงาน จาก ดวงอาทิตย์) ซึ่งการทำให้โลกอุ่นขึ้นเช่นนี้ คล้ายกับหลักการของ เรือนกระจก (ที่ใช้ปลูกพืช) จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) ค่ะ

แต่การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของ CO2 ที่ออกมาจาก โรงงานอุตสาหกรรม รถยนต์ หรือการกระทำใดๆที่เผา เชื้อเพลิงฟอสซิล (เช่น ถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ หรือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ) ส่งผลให้ระดับปริมาณ CO2 ในปัจจุบันสูงเกิน 300 ppm (300 ส่วน ใน ล้านส่วน) เป็นครั้งแรกในรอบกว่า 6 แสนปี

ซึ่ง คาร์บอนไดออกไซด์ ที่มากขึ้นนี้ ได้เพิ่มการกักเก็บความร้อนไว้ในโลกของเรามากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดเป็น ภาวะโลกร้อน ดังเช่นปัจจุบัน

ภาวะโลกร้อนภายในช่วง 10 ปีนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 มานี้ ได้มีการบันทึกถึงปีที่มีอากาศร้อนที่สุดถึง 3 ปีคือ ปี พ.ศ. 2533, พ.ศ.2538 และปี พ.ศ. 2540 แม้ว่าพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ยังมีความไม่แน่นอนหลายประการ แต่การถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ได้เปลี่ยนหัวข้อจากคำถามที่ว่า "โลกกำลังร้อนขึ้นจริงหรือ" เป็น "ผลกระทบจากการที่โลกร้อนขึ้นจะส่งผลร้ายแรง และต่อเนื่องต่อสิ่งที่มีชีวิตในโลกอย่างไร" ดังนั้น ยิ่งเราประวิงเวลาลงมือกระทำการแก้ไขออกไปเพียงใด ผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะยิ่งร้ายแรงมากขึ้นเท่านั้น และบุคคลที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุดก็คือ ลูกหลานของพวกเราเอง

                                                                    เซลล์พืช

ส่วนประกอบของเซลล์พืช

เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีขนาดเล็กมาก ภายในมีโครงสร้างมากมายดังนี้
               
1. ผนังเซลล์ (Cell Wall ) เซลล์ทั่วไปประกอบด้วยสารพวกเซลลูโลสเป็นหลัก ทำหน้าที่ห่อหุ้มป้องกัน
อันตรายให้แก่เซลล์พืช ให้เซลล์คงรูปเพิ่มความแข็งแรง เซลล์ของสัตว์ไม่มีผนังเซลล์ แต่เซลล์สัตว์บางชนิดอาจมีสาร
เคลือบเยื่อหุ้มเซลล์ได้ มีลักษณะแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดของเซลล์นั้น ๆ เช่น เปลือกกุ้ง กระดองปู มีสารเคลือบพวก
ไกลโคโปรตีน (Glycoprotein)  
เซลล์พวกไดอะตอม มีสารเคลือบเป็นพวก ซิลิกา สารเคลือบเหล่านี้มีประโยชน์ทำให้
เซลล์คงรูปร่างได้
               

               2. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane) เป็นเยื่อบาง ๆ ประกอบด้วยโปรตีน และไขมัน ทำหน้าที่ควบคุม
ปริมาณ และชนิดของสารที่ผ่านเข้าออกจากเซลล์ และมีรูเล็ก ๆ เพื่อให้สารบางอย่างผ่านเข้าออกได้ และไม่ให้สารบาง
อย่างผ่านเข้าออกจากเซลล์ จึงมีสมบัติเป็นเยื่อบางๆ
(Semipermeable Membrane)


               
3. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) เป็นส่วนประกอบที่เป็นของเหลวอยู่ภายในเซลล์ มีสารที่ละลายน้ำได้
เช่น โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ ฯลฯ ประกอบด้วยหน่วยเล็ก ๆ ที่สำคัญหลายชนิด ดังนี้

                3.1 ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะยาวรีเป็นแหล่งผลิตสาร
ที่มีพลังงานสูงให้แก่เซลล์


                3.2 คลอโรพลาส (Chloroplast) เป็นโครงสร้างพบเฉพาะในเซลล์พืช มองเห็นเป็นสีเขียว
เพราะมีสารพวกคลอโรฟิลล์ ซึ่งไม่ดูดกลืนแสงสีเขียว คลอโรฟิลล์เป็นสาระสำคัญที่ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสง
3.3 ไรโบโซม (Ribosome) เป็นโครงสร้างที่มีขนาดเล็ก เป็นแหล่งที่มีการสังเคราะห์
โปรตีนเพื่อส่งออกไปใช้นอกเซลล์


            3.4 กอลจิคอมเพลกซ์ (Golgi Complex)
เป็นโครงสร้างที่เป็นถุงแบน ๆ คล้ายจานซ้อน
กันเป็นชั้น ๆ หลายชั้น ทำหน้าที่สร้างสารคาร์โบไฮเดรตที่รวมกับโปรตีน แล้วส่งออกไปใช้ภายในเซลล์

               3.5 เซนตริโอล (Centriole) พบเฉพาะในเซลล์สัตว์ และโพรติสต์บางชนิด มีหน้าที่เกี่ยวกับ
การแบ่งเซลล์

              3.6 แวคิวโอล (Vacuole) เป็นโครงสร้างที่มีช่องว่างชนาดใหญ่มากในเซลล์พืช ภายในมีสาร
พวกน้ำมัน ยาง และแก๊สต่าง ๆ

4. นิวเคลียส (Nucleus) อยู่ตรงการเซลล์ เซลล์ส่วนใหญ่มีนิวเคลียส ยกเว้นเซลล์บางชนิด เช่น เซลล์เม็ด
เลือดแดงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และเซลล์ลำเลียงอาหารของพืช เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่จะไม่มีนิวเคลียส
                นิวเคลียสทำหน้าที่ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ควบคุมการสังเคราะห์สารประกอบของเซลล์ ส่วนประกอบ
ของนิวเคลียสมีดังนี้


                4.1 นิวคลีโอพลาซึม (Nucleoplasm) เป็นของเหลวภายในนิวเคลียส เป็นส่วนที่ใส ไม่มีสี
ประกอบด้วยเม็ดสารเล็ก ๆ ที่มีรูปร่างไม่แน่นอน


                4.2 ร่างแหนิวเคลียส มีโครงสร้างเป็นเส้นที่สานกันเป็นร่างแห เมื่อเซลล์มีการแบ่งตัว ร่างแหนิวเคลียส
จะเปลี่ยนเป็นร่างแหโครโมโซม ซึ่งประกอบด้วย
DNA หรือยีน (gene)
ซึ่งมีสารพันธุกรรมประกอบอยู่ และเป็นตัวควบคุม
การแสดงออกถึงลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต


               
4.3 นิวคลีโอลัส (Nucleolus) เป็นตำแหน่งที่ติดสีเคมีบนไครโมโซม ประกอบด้วยสารประเภท DNA
TNA ซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับกลไกการสร้างโปรตีน

                                                                                           พลังงาน

คำว่า " พลังงาน " หมายถึง ความสามารถในการทำงานซึ่งมีอยู่ในตัวของสิ่งที่อาจให้งานได้โดยการทำให้วัตถุ หรือธาตุเกิดการเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนรูปแบบไปได้ การที่วัตถุเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ ก็เพราะมีแรงหรือพลังงานเข้าไปกระทำพลังงานหรือความสามารถในการทำงานได้นี้ นอกจากสิ่งมีชีวิตจะใช้พลังงาน ซึ่งอยู่ในรูปของสารอาหารในการดำรงชีวิตโดยตรงแล้ว สิ่งมีชีวิตยังต้องใช้พลังงานในรูปแบบลักษณะอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการดำรงชีวิตประจำวันอีกในหลายรูปแบบ เช่น ทางด้านแสงสว่าง ความร้อน ไฟฟ้า เป็นต้นทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ก็คือ

1. พลังงานประเภทที่เกิดทดแทนใหม่ได้ ( พลังงานหมุนเวียน ) ได้แก่ พลังงานจากฟืน และถ่าน แกลบ กากอ้อย พลังงานลม พลังงานจากชีวมวลพลังงานความร้อนใต้พิภพ

2. พลังงานประเภทที่ใช้แล้วหมดไป เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ฯลฯ

                                                                                       ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ (Solar System) 
    ระบบสุริยะที่โลกของเราอยู่เป็นระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ (The sun) เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์ (Planets) 9 ดวง ที่เราเรียกกันว่า ดาวนพเคราะห์ ( นพ แปลว่า เก้า)   เรียงตามลำดับ จากในสุดคือ ดาวพุธ  ดาวศุกร์  โลก   ดาวอังคาร  ดาวพฤหัส    ดาวเสาร์   ดาวยูเรนัส    ดาวเนปจูน   ดาวพลูโต และยังมีดวงจันทร์บริวารของ ดวงเคราะห์แต่ละดวง (sattelites) ยกเว้นเพียง สองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ ที่ไม่มีบริวาร นอกจากนี้ยังมี ดาวเคราะห์น้อย (Minor planets) ดาวหาง (Comets) อุกกาบาต (Meteorites) ตลอดจนกลุ่มฝุ่นและก๊าซ ซึ่งเคลื่อนที่อยู่ในวงโคจร ภายใต้อิทธิพลแรงดึงดูด จากดวงอาทิตย์ ขนาดของระบบสุริยะ กว้างใหญ่ไพศาลมาก  เมื่อเทียบระยะทาง ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ซึ่งมีระยะทางประมาณ 149 ล้านกิโลเมตร หรือ 1 หน่วยดาราศาสตร์ (astronomy unit - au)  กล่าวคือ ระบบสุริยะมีระยะทางไกลไปจนถึงวงโคจร ของดาวพลูโตดาวเคราะห์ที่มีขนาดเล็กที่สุดในระบบสุริยะ ซึ่งอยู่ไกลเป็นระยะทาง 40 เท่าของ 1 หน่วยดาราศาสตร์ และยังไกลห่างออก ไปอีกจนถึงดงดาวหางอ๊อต (Oort's Cloud) ซึ่งอาจอยู่ไกลถึง 500,000 เท่า ของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ด้วย 
     ดวงอาทิตย์มีมวลมากกว่าร้อยละ 99 ของมวลทั้งหมดในระบบสุริยะ ที่เหลือนอกนั้นจะเป็นมวลของ เทหวัตถุต่างๆ ซึ่ง ประกอบด้วยดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และอุกกาบาต รวมไปถึงฝุ่นและก๊าซ ที่ล่องลอยระหว่าง ดาวเคราะห์ แต่ละดวง โดยมีแรงดึงดูด (Gravity) เป็นแรงควบคุมระบบสุริยะ ให้เทหวัตถุบนฟ้าทั้งหมด เคลื่อนที่เป็นไปตามกฏแรง แรงโน้มถ่วงของนิวตัน ดวงอาทิตย์แพร่พลังงาน ออกมา ด้วยอัตราประมาณ 90,000,000,000,000,000,000,000,000 แคลอรีต่อวินาที เป็นพลังงานที่เกิดจากปฏิกริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ โดยการเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม ซึ่งเป็นแหล่งความร้อนให้กับดาว ดาวเคราะห์ต่างๆ ถึงแม้ว่าดวงอาทิตย์จะเสียไฮโดรเจนไปถึง 4,000,000 ตันต่อวินาทีก็ตาม แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ยังมีความเชื่อว่าดวงอาทิตย์ จะยังคงแพร่พลังงานออกมาในอัตราที่เท่ากันนี้ได้อีกนานหลายพันล้านปี
     ชื่อของดาวเคราะห์ทั้ง 9 ดวงยกเว้นโลก ถูกตั้งชื่อตามเทพของชาวกรีก เพราะเชื่อว่าเทพเหล่านั้นอยู่บนสรวงสวรค์ และเคารพบูชาแต่โบราณกาล ในสมัยโบราณจะรู้จักดาวเคราะห์เพียง 5 ดวงเท่านั้น(ไม่นับโลกของเรา) เพราะสามารถเห็นได้ ด้วยตาเปล่าคือ ดาวพุธ   ดาวศุกร์  ดาวอังคาร   ดาวพฤหัส   ดาวเสาร์   ประกอบกับดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ รวมเป็น 7 ทำให้เกิดวันทั้ง 7 ในสัปดาห์นั่นเอง และดาวทั้ง 7 นี้จึงมีอิทธิกับดวงชะตาชีวิตของคนเรา ตามความเชื่อถือทางโหราศาสตร์   ส่วนดาวเคราะห์อีก 3 ดวงคือ ดาวยูเรนัส   ดาวเนปจูน    ดาวพลูโต ถูกคนพบภายหลัง แต่นักดาราศาสตร์ก็ตั้งชื่อตามเทพของกรีก เพื่อให้สอดคล้องกันนั่นเอง

                                                                                     อาณาจักรสิ่งมีชีวิต

นักชีววิทยาได้จำแนกสิ่งมีชีวิตทั้งหลายในโลกนี้ ออกเป็นหมวดหมู่ใหญ่ๆ แตกต่างกันหลายแนวความคิด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนก ในบทเรียนนี้นักเรียนจะได้ศึกษาการจำแนกสิ่งมีชีวิตต่างๆตามแนวความคิดของ อาร์ เอช  วิทเทเคอร์  (R.H. Whittaker)  ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 อาณาจักร 

                                                                                          Petroleum

ปิโตรเลียม (petroleum จากภาษากรีก petra – หิน และ elaion – น้ำมัน หรือภาษาละติน oleum – น้ำมัน ) หรือน้ำมันดิบ บางครั้งเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ทองคำสีดำ หรือ "น้ำชาเท็กซัส" คือของเหลวขุ่นข้นสีน้ำตาลเข้มหรือเขียวเข้ม

ปิโตรเลียม เป็นทรัพยากรธรรรมชาติที่สามารถพบได้ในชั้นหินในบางพื้นที่บนเปลือกโลกและประกอบไปด้วยสารประกอบโครงสร้างซับซ้อนของไฮโดรคาร์บอน โดยส่วนมากมักจะเป็นอัลเคนแต่อาจจะแพร่หลายในรูปลักษณะ และสารประกอบ โดยมากปิโตรเลียมนั้นจะนำมาใช้ในการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง เช่น และ ผลผลิตทั้งสองนั้นเป็นในขณะนี้

ปิโตรเลียมเป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตภัณฑ์เคมีมากมาย รวมไปถึงสารละลาย   และพลาสติก

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 414 คน กำลังออนไลน์