• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d8b9f7ad418801edd3ba3e91b01d2ea5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">กระบวนการย่อยอาหาร</span></span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> </span></b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">     </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">         <o:p></o:p></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #ff9900\">1.</span><b><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">ปาก</span></span>  </b><span lang=\"TH\">มีการย่อยเชิงกลโดยการบดเคี้ยวของฟัน และมีการย่อยเชิงเคมีโดยเอนไซม์ในน้ำลาย ชื่ออะไมเลส ซึ่งทำงานได้ดี ีในสภาพเป็นเบสเล็กน้อย </span><br />\n                                                    <span lang=\"TH\">ปาก ---------</span>  <span lang=\"TH\">อะไมเลส</span>   ----------&gt;  <span lang=\"TH\">น้ำตาลมอลโตส </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><span lang=\"TH\"></span><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #ff9900\">2. <b><span lang=\"TH\">คอหอย</span></b></span>  <span lang=\"TH\">เป็นทางผ่านของอาหาร ไม่มีการย่อยใด ๆ ทั้งสิ้น</span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><span lang=\"TH\"></span><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #ff9900\">3. <b><span lang=\"TH\">หลอดอาหาร</span></b></span>  <span lang=\"TH\">มีลักษณะเป็นกล้ามเนื้อเรียบ มีการย่อยเชิงกลโดยการบีบตัวของกล้ามเนื้อ ทางเดินอาหา รเป็นช่วง ๆ เพื่อให้อาหารเคลื่อนก่อนที่ลงสู่กระเพาะอาหาร </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><span lang=\"TH\"></span><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #ff9900\">4. <b><span lang=\"TH\">กระเพาะอาหาร</span></b></span>  <span lang=\"TH\">กระเพาะอาหารของคนเราขณะไม่มีอาหารอยู่มีขนาดประมาณ </span>50 <span lang=\"TH\">ลูกบาศก์เซนติเมตร แต่สามารถขยายได้อีก </span>10-40 <span lang=\"TH\">เท่า เมื่อมีอาหารอยู่ กระเพาะอาหาร มีการย่อยเชิงกล โดยการบีบตัวของกล้ามเนื้อ ทางเดินอาหา ร และมีการย่อยเชิงเคมี ีโดยเอนไซม์ เปปซิน</span><br />\n( Pepsin )    <span lang=\"TH\">เปปซินจะทำงานได้ดีในสภาพเป็นกรด ซึ่งกระเพาะ จะสร้าง กรดไฮโรคลอริก ( </span>HCl ) <span lang=\"TH\">ขึ้นมา และเปปซิน จะย่อยโปรตีน ให้เป็นเปปไตด์ ( </span>Peptide )<br />\n                                                    <span lang=\"TH\">โปรตีน ------- เปปซิน</span>   -------&gt;  <span lang=\"TH\">เปปไตด์</span><br />\n</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><br />\n </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff9900\">5.  <span lang=\"TH\">ลำไส้เล็ก</span></span></span></b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">    <span lang=\"TH\">ลำไส้เล็กมีลักษณะเป็นท่อยาวประมาณ </span><st1:metricconverter ProductID=\"7 เมตร\" w:st=\"on\">7 <span lang=\"TH\">เมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> ขดอยู่ในช่องท้อง ที่ผนังด้านใน ของลำไส้เล็ก มีลักษณะ ไม่เรียบ เป็นปุ่มปมเล็ก ๆ จำนวนมากมายยื่นออกมาเรียกว่า วิลลัส ( </span>Villus ) <span lang=\"TH\">เพื่อช่วยเพิ่มพื้นที่ ในการดูดซึมอาหาร</span>  <span lang=\"TH\">การย่อยอาหารในลำไส้เล็กเกิดจาก การทำงาน ร่วมกัน ของเอนไซม์หลายชนิด จากแหล่งต่าง ๆ ได้แก่ ผนังลำไส้เล็ก  ตับอ่อน</span>  <span lang=\"TH\">และตับ</span>      </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">ผนังลำไส้เล็ก</span></span></b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">   <span lang=\"TH\">ทำหน้าที่สร้างเอนไซม์หลายชนิด แต่ละชนิดมีหน้าที่ย่อยอาหารต่างกัน ได้แก่ </span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>1.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มอลเตส</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">เป็นเอนไซม์ที่ย่อยน้ำตาลมอลโตสให้เป็นกลูโคส </span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>2.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ซูเครส</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">เป็นเอนไซม์ที่ย่อยน้ำตาลทรายหรือน้ำตาลซูโครสให้เป็นน้ำตาลกลูโคสและ ฟรุกโตส </span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>3.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">แลกเตส เป็นเอนไซม์ที่ย่อยน้ำตาลแลกโตสให้เป็นกลูโคสกับกาแลกโตส</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>4.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">อิเรฟซิน</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">เป็นเอนไซม์ที่ทำหน้าที่ย่อยโปรตีนโมเลกุลย่อยให้เป็นกรดอะมิโน </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p> </o:p></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff9900\">ตับอ่อน</span></span></b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff9900\">  </span><span lang=\"TH\">ทำหน้าที่สร้างเอนไซม์หลายชนิดแล้วส่งไปยังลำไส้เล็ก ซึ่งแต่ละชนิดมีหน้าที่ย่อยอาหารต่างกัน ได้แก่ </span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>1.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไลเปส</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">ทำหน้าที่ย่อยไขมัน </span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>2.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">อะไมเลส ทำหน้าที่ย่อยแป้ง</span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>3.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">        </span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ทริบซิน ทำหน้าที่ย่อยโปรตีนโมเลกุลย่อยให้เป็นกรดอะมิโน </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><strong><span style=\"color: #ff9900\">ตับ</span></strong>     <span lang=\"TH\">ทำหน้าที่สร้างน้ำดีแล้วไปเก็บไว้ที่ถุงน้ำดี ซึ่งมีท่อติดต่อกับลำไส้เล็ก</span>  <span lang=\"TH\">น้ำดีมีฤทธิ์เป็นเบสอ่อน ๆ</span>  <span lang=\"TH\">น้ำดีไม่ใช่เอนไซม์ เพราะไม่ใช่สารประเภทโปรตีน จึงไม่มีหน้าที่เกี่ยวกับการย่อยโดยตรง เมื่ออาหารผ่านเข้ามาในลำไส้เล็ก</span>  <span lang=\"TH\">จะมีการกระตุ้นให้น้ำดีหลั่งออกมา</span>  <span lang=\"TH\">น้ำดีจะช่วยให้ไขมันแตกตัวออกเป็นเม็ดเล็ก ๆ</span>  <span lang=\"TH\">เพื่อให้เอนไซม์ไลเปสที่สร้างจากตับอ่อนทำหน้าที่ย่อยไขมันได้ง่ายขึ้น </span><br />\n</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><br />\n </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><b><o:p></o:p></b></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff9900\">6.  <span lang=\"TH\">ลำไส้ใหญ่</span></span></span></b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">เป็นทางเดินอาหารส่วนสุดท้ายต่อจากลำไส้เล็กมีความยาวประมาณ </span><st1:metricconverter ProductID=\"1.5 เมตร\" w:st=\"on\">1.5 <span lang=\"TH\">เมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> ที่ผนังลำไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อยอาหาร แต่จะมีการดูดซึมน้ำ แร่ธาตุ วิตามินบางชนิด ออกจากกากอาหารกลับเข้าสู่กระแสเลือด ทำให้กากอาหารเหนียว ข้น และเป็นก้อน จากนั้นก็จะเคลื่อนที่ไปรวมกันที่ลำไส้ใหญ่ส่วนที่เรียกว่า ลำไส้ตรง ซึ่งอยู่เหนือทวารหนักและถูกขับถ่ายออกมาทางทวารหนักเป็นอุจจาระ</span><o:p></o:p></span></span> </p>\n', created = 1727768763, expire = 1727855163, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d8b9f7ad418801edd3ba3e91b01d2ea5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบย่อยอาหาร (2)

กระบวนการย่อยอาหาร      

        

1.ปาก  มีการย่อยเชิงกลโดยการบดเคี้ยวของฟัน และมีการย่อยเชิงเคมีโดยเอนไซม์ในน้ำลาย ชื่ออะไมเลส ซึ่งทำงานได้ดี ีในสภาพเป็นเบสเล็กน้อย
                                                    ปาก ---------  อะไมเลส   ---------->  น้ำตาลมอลโตส

 

2. คอหอย  เป็นทางผ่านของอาหาร ไม่มีการย่อยใด ๆ ทั้งสิ้น

 

3. หลอดอาหาร  มีลักษณะเป็นกล้ามเนื้อเรียบ มีการย่อยเชิงกลโดยการบีบตัวของกล้ามเนื้อ ทางเดินอาหา รเป็นช่วง ๆ เพื่อให้อาหารเคลื่อนก่อนที่ลงสู่กระเพาะอาหาร

 

4. กระเพาะอาหาร  กระเพาะอาหารของคนเราขณะไม่มีอาหารอยู่มีขนาดประมาณ 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร แต่สามารถขยายได้อีก 10-40 เท่า เมื่อมีอาหารอยู่ กระเพาะอาหาร มีการย่อยเชิงกล โดยการบีบตัวของกล้ามเนื้อ ทางเดินอาหา ร และมีการย่อยเชิงเคมี ีโดยเอนไซม์ เปปซิน
( Pepsin )    เปปซินจะทำงานได้ดีในสภาพเป็นกรด ซึ่งกระเพาะ จะสร้าง กรดไฮโรคลอริก ( HCl ) ขึ้นมา และเปปซิน จะย่อยโปรตีน ให้เป็นเปปไตด์ ( Peptide )
                                                    โปรตีน ------- เปปซิน   ------->  เปปไตด์


 

5.  ลำไส้เล็ก    ลำไส้เล็กมีลักษณะเป็นท่อยาวประมาณ 7 เมตร ขดอยู่ในช่องท้อง ที่ผนังด้านใน ของลำไส้เล็ก มีลักษณะ ไม่เรียบ เป็นปุ่มปมเล็ก ๆ จำนวนมากมายยื่นออกมาเรียกว่า วิลลัส ( Villus ) เพื่อช่วยเพิ่มพื้นที่ ในการดูดซึมอาหาร  การย่อยอาหารในลำไส้เล็กเกิดจาก การทำงาน ร่วมกัน ของเอนไซม์หลายชนิด จากแหล่งต่าง ๆ ได้แก่ ผนังลำไส้เล็ก  ตับอ่อน  และตับ      

 ผนังลำไส้เล็ก   ทำหน้าที่สร้างเอนไซม์หลายชนิด แต่ละชนิดมีหน้าที่ย่อยอาหารต่างกัน ได้แก่

1.        มอลเตส  เป็นเอนไซม์ที่ย่อยน้ำตาลมอลโตสให้เป็นกลูโคส

2.        ซูเครส  เป็นเอนไซม์ที่ย่อยน้ำตาลทรายหรือน้ำตาลซูโครสให้เป็นน้ำตาลกลูโคสและ ฟรุกโตส

3.        แลกเตส เป็นเอนไซม์ที่ย่อยน้ำตาลแลกโตสให้เป็นกลูโคสกับกาแลกโตส

4.        อิเรฟซิน  เป็นเอนไซม์ที่ทำหน้าที่ย่อยโปรตีนโมเลกุลย่อยให้เป็นกรดอะมิโน

 ตับอ่อน  ทำหน้าที่สร้างเอนไซม์หลายชนิดแล้วส่งไปยังลำไส้เล็ก ซึ่งแต่ละชนิดมีหน้าที่ย่อยอาหารต่างกัน ได้แก่

1.        ไลเปส  ทำหน้าที่ย่อยไขมัน

2.        อะไมเลส ทำหน้าที่ย่อยแป้ง

3.        ทริบซิน ทำหน้าที่ย่อยโปรตีนโมเลกุลย่อยให้เป็นกรดอะมิโน

 

ตับ     ทำหน้าที่สร้างน้ำดีแล้วไปเก็บไว้ที่ถุงน้ำดี ซึ่งมีท่อติดต่อกับลำไส้เล็ก  น้ำดีมีฤทธิ์เป็นเบสอ่อน ๆ  น้ำดีไม่ใช่เอนไซม์ เพราะไม่ใช่สารประเภทโปรตีน จึงไม่มีหน้าที่เกี่ยวกับการย่อยโดยตรง เมื่ออาหารผ่านเข้ามาในลำไส้เล็ก  จะมีการกระตุ้นให้น้ำดีหลั่งออกมา  น้ำดีจะช่วยให้ไขมันแตกตัวออกเป็นเม็ดเล็ก ๆ  เพื่อให้เอนไซม์ไลเปสที่สร้างจากตับอ่อนทำหน้าที่ย่อยไขมันได้ง่ายขึ้น


 
6.  ลำไส้ใหญ่  เป็นทางเดินอาหารส่วนสุดท้ายต่อจากลำไส้เล็กมีความยาวประมาณ 1.5 เมตร ที่ผนังลำไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อยอาหาร แต่จะมีการดูดซึมน้ำ แร่ธาตุ วิตามินบางชนิด ออกจากกากอาหารกลับเข้าสู่กระแสเลือด ทำให้กากอาหารเหนียว ข้น และเป็นก้อน จากนั้นก็จะเคลื่อนที่ไปรวมกันที่ลำไส้ใหญ่ส่วนที่เรียกว่า ลำไส้ตรง ซึ่งอยู่เหนือทวารหนักและถูกขับถ่ายออกมาทางทวารหนักเป็นอุจจาระ

สร้างโดย: 
นายอมรเทพ ทัศนา นางสาวชยุดา ดีนาน นางสาวเบญจวรรณ เจริญปฐมตระกูล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 445 คน กำลังออนไลน์