• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('เนื้อเรื่องมหาเวสสันดรชาดก', 'node/45992', '', '18.189.44.52', 0, 'e4b2d2c8bcdebf96e802e27b0580f263', 172, 1716175773) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:eb5bb2e30b75010dc78396de3d44f5d7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><u><span style=\"color: #008000\"><b>ความเป็นมาของวิชาเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทย</b></span></u></p>\n<p>สำหรับประเทศไทยเป็นที่เชื่อกันว่าการดำเนินการเกี่ยวกับเศรษฐกิจตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นต้น มาอาศัยแนวความคิด</p>\n<p>เศรษฐกิจแบบเสรี ดังจะเห็นได้จากหลักศิลาจารึกในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชมีใจความตอนหนึ่งว่า &quot; <span style=\"color: #008000\">ใครจักใคร่</span></p>\n<p><span style=\"color: #008000\">ค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า ใครจักใคร่ค้าเงินค้าทองค้า ไพร่ฟ้าหน้าใส</span> &quot;  อย่างไรก็ตาม ในสมัยนั้นยังไม่มีการรวบรวม</p>\n<p>ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ไว้เป็นหลักเกณฑ์ ที่แน่นอน จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2454 พระยาสุริยานุวัตรได้แต่งตำรา</p>\n<p>เศรษฐศาสตร์เล่มแรกขึ้นมีชื่อว่า ทรัพยศาสตร์ โดย มีสาระเกี่ยวกับการสร้างทรัพย์และผลตอบแทนในรูปต่างๆ ได้แก่</p>\n<p>ค่าเช่า ค่าจ้าง กำไร ฯลฯ แต่ก็มิได้นำออกเผยแพร่ในขณะนั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2475 จึงได้พิมพ์เผยแพร่โดยใช้ชื่อว่า</p>\n<p>&quot; เศรษฐศาสตร์วิทยาภาคต้น เล่ม 1 &quot; และในปี พ.ศ. 2459 กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ (น.ม.ส.) ได้ ทรงแต่งตำราเรื่อง</p>\n<p>&quot; ตลาดเงินตรา &quot;  ขึ้น แต่ก็ไม่เป็นที่แพร่หลายนัก</p>\n<p>การ ศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ของประเทศไทยเริ่มขึ้นอย่างจริงจังเมื่อมีการก่อตั้ง มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์และ</p>\n<p>การเมืองในปี พ.ศ. 2477 โดยได้มีการเปิดสอนวิชาเศรษฐศาสตร์ ซึ่งในขณะนั้นได้มีผู้รู้ทางเศรษฐศาสตร์ของไทยแต่งตำรา</p>\n<p>เศรษฐศาสตร์เพิ่มเติม จากเดิม ได้แก่ นายสหัส กาญจนพังคะ แปลตำราชื่อ หลักเศรษฐศาสตร์ของชาลส์ จีด จาก ตำรา </p>\n<p>&quot; The Principles of Political Economy &quot; ของศาสตราจารย์ชาลส์ จีด (Charles Gide) ในปี พ.ศ. 2479 พระสารสาส์นพลขันธ์</p>\n<p>ได้แต่งตำราชื่อ เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการค้า และ เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการเงิน ในปี พ.ศ. 2480 และ 2481 ตามลำดับ</p>\n<p>อย่าง ไรก็ตาม การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ต้องหยุดชะงักไปชั่วคราวอันเนื่องจากเกิดสงครามโลก ครั้งที่ 2 โดยภายหลัง</p>\n<p>จากสงครามสงบลง ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองได้จัดแบ่งการศึกษาออกเป็นสาขาวิชาต่างๆ</p>\n<p>4 คณะด้วยกัน คือ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะนิติศาสตร์ นับตั้งแต่นั้นมา</p>\n<p>จึงได้มีการศึกษา วิชาเศรษฐศาสตร์กันอย่างแพร่หลายในสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และ</p>\n<p>ปัจจุบันในระดับปริญญาเอก รวมทั้งได้ขยายการศึกษาออกไปสู่ระดับต่ำกว่าปริญญาตรีด้วย</p>\n', created = 1716175783, expire = 1716262183, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:eb5bb2e30b75010dc78396de3d44f5d7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความเป็นมาของวิชาเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทย

ความเป็นมาของวิชาเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทย

สำหรับประเทศไทยเป็นที่เชื่อกันว่าการดำเนินการเกี่ยวกับเศรษฐกิจตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นต้น มาอาศัยแนวความคิด

เศรษฐกิจแบบเสรี ดังจะเห็นได้จากหลักศิลาจารึกในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชมีใจความตอนหนึ่งว่า " ใครจักใคร่

ค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า ใครจักใคร่ค้าเงินค้าทองค้า ไพร่ฟ้าหน้าใส "  อย่างไรก็ตาม ในสมัยนั้นยังไม่มีการรวบรวม

ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ไว้เป็นหลักเกณฑ์ ที่แน่นอน จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2454 พระยาสุริยานุวัตรได้แต่งตำรา

เศรษฐศาสตร์เล่มแรกขึ้นมีชื่อว่า ทรัพยศาสตร์ โดย มีสาระเกี่ยวกับการสร้างทรัพย์และผลตอบแทนในรูปต่างๆ ได้แก่

ค่าเช่า ค่าจ้าง กำไร ฯลฯ แต่ก็มิได้นำออกเผยแพร่ในขณะนั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2475 จึงได้พิมพ์เผยแพร่โดยใช้ชื่อว่า

" เศรษฐศาสตร์วิทยาภาคต้น เล่ม 1 " และในปี พ.ศ. 2459 กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ (น.ม.ส.) ได้ ทรงแต่งตำราเรื่อง

" ตลาดเงินตรา "  ขึ้น แต่ก็ไม่เป็นที่แพร่หลายนัก

การ ศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ของประเทศไทยเริ่มขึ้นอย่างจริงจังเมื่อมีการก่อตั้ง มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์และ

การเมืองในปี พ.ศ. 2477 โดยได้มีการเปิดสอนวิชาเศรษฐศาสตร์ ซึ่งในขณะนั้นได้มีผู้รู้ทางเศรษฐศาสตร์ของไทยแต่งตำรา

เศรษฐศาสตร์เพิ่มเติม จากเดิม ได้แก่ นายสหัส กาญจนพังคะ แปลตำราชื่อ หลักเศรษฐศาสตร์ของชาลส์ จีด จาก ตำรา

" The Principles of Political Economy " ของศาสตราจารย์ชาลส์ จีด (Charles Gide) ในปี พ.ศ. 2479 พระสารสาส์นพลขันธ์

ได้แต่งตำราชื่อ เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการค้า และ เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการเงิน ในปี พ.ศ. 2480 และ 2481 ตามลำดับ

อย่าง ไรก็ตาม การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ต้องหยุดชะงักไปชั่วคราวอันเนื่องจากเกิดสงครามโลก ครั้งที่ 2 โดยภายหลัง

จากสงครามสงบลง ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองได้จัดแบ่งการศึกษาออกเป็นสาขาวิชาต่างๆ

4 คณะด้วยกัน คือ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะนิติศาสตร์ นับตั้งแต่นั้นมา

จึงได้มีการศึกษา วิชาเศรษฐศาสตร์กันอย่างแพร่หลายในสถาบันการศึกษาต่างๆ ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และ

ปัจจุบันในระดับปริญญาเอก รวมทั้งได้ขยายการศึกษาออกไปสู่ระดับต่ำกว่าปริญญาตรีด้วย

สร้างโดย: 
นางรัชญา ไชยนา,นางสาว ศิรินทิพย์ทิพย์ งามธโนปจัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 282 คน กำลังออนไลน์