• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:186e69b1f3465c83e21ebfe758eaf6da' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table cellPadding=\"5\" cellSpacing=\"5\" bgColor=\"#00aa77\" style=\"border: #00aa77 1px dashed\" width=\"90%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td bgColor=\"white\" style=\"border: white 1px dashed\"><center><img tppabs=\"http://www.school.net.th/library/snet3/saowalak/wave/w_title.gif\" src=\"http://www.school.net.th/library/snet3/saowalak/wave/w_title.gif\" height=\"121\" width=\"500\" /> <img tppabs=\"http://www.school.net.th/library/snet3/introsubject/image/lemming_looker.gif\" src=\"http://www.school.net.th/library/snet3/introsubject/image/lemming_looker.gif\" width=\"100%\" /> </center><span style=\"color: #087008; font-size: x-small\"><b>ชนิดของคลื่น</b></span><br />\n<dd>คลื่นเป็น<wbr></wbr>ปรากฎการณ์<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>เกี่ยวกับ<wbr></wbr>การเคลื่อนที่<wbr></wbr>รูปแบบหนึ่ง คลื่น<wbr></wbr>สามารถ<wbr></wbr>จำแนก<wbr></wbr>ตาม<wbr></wbr>ลักษณะ<wbr></wbr>ต่าง ๆ<wbr></wbr>ได้<wbr></wbr>ดังนี้ </dd>\n<dd><span style=\"color: #de0643\">1.   จำแนกตามลักษณะการอาศัยตัวกลาง</span><br />\n </dd>\n<dd>       1.1   <a tppabs=\"http://www.school.net.th/library/snet3/saowalak/wave/mechanical_wave/m_wave.htm\" href=\"http://www.school.net.th/library/snet3/saowalak/wave/mechanical_wave/m_wave.htm\"><u><span style=\"color: #0000ff\">คลื่นกล</span></u></a> (Mechanical wave)   <wbr></wbr>เป็น<wbr></wbr>คลื่น<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>เคลื่อนที่<wbr></wbr>โดย<wbr></wbr>อาศัย<wbr></wbr>ตัวกลาง<wbr></wbr>ซึ่งอาจเป็น<wbr></wbr>ของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซก็ได้ ตัวอย่าง<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>คลื่นกล<wbr></wbr>ได้แก่ คลื่นเสียง คลื่นที่ผิวน้ำ คลื่นในเส้นเชือก เป็นต้น<br />\n </dd>\n<dd>       1.2   <a tppabs=\"http://www.school.net.th/library/snet3/saowalak/electromagnet/e_wave.htm\" href=\"http://www.school.net.th/library/snet3/saowalak/electromagnet/e_wave.htm\"><u><span style=\"color: #0000ff\">คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า</span></u></a> (Electromagnetic waves)   <wbr></wbr>เป็น<wbr></wbr>คลื่น<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>เคลื่อนที่<wbr></wbr>โดย<wbr></wbr>ไม่<wbr></wbr>อาศัย<wbr></wbr>ตัวกลาง สามารถ<wbr></wbr>เคลื่อนที่<wbr></wbr>ใน<wbr></wbr>สุญญากาศ<wbr></wbr>ได้ เช่น คลื่นแสง คลื่นวิทยุและโทรทัศน์ คลื่นไมโครเวฟ รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา เป็นต้น <br />\n </dd>\n<dd><span style=\"color: #de0643\">2.   จำแนกตามลักษณะการเคลื่อนที่</span><br />\n </dd>\n<dd>       2.1   คลื่นตามขวาง (Transverse wave)   <wbr></wbr>เป็น<wbr></wbr>คลื่น<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>อนุภาค<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>ตัวกลาง<wbr></wbr>เคลื่อนที่<wbr></wbr>ใน<wbr></wbr>ทิศตั้งฉาก<wbr></wbr>กับ<wbr></wbr>ทิศ<wbr></wbr>การเคลื่อนที่<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>คลื่น ตัวอย่าง<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>คลื่นตามขวาง<wbr></wbr>ได้แก่ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า <br />\n </dd>\n<dd>       2.2   คลื่นตามยาว (Longitudinal wave)   <wbr></wbr>เป็น<wbr></wbr>คลื่น<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>อนุภาค<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>ตัวกลาง<wbr></wbr>เคลื่อนที่<wbr></wbr>ไปมา<wbr></wbr>ในแนวเดียว<wbr></wbr>กับ<wbr></wbr>ทิศ<wbr></wbr>การเคลื่อนที่<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>คลื่น ตัวอย่าง<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>คลื่นตามยาว<wbr></wbr>ได้แก่ คลื่นเสียง <br />\n </dd>\n<dd><span style=\"color: #de0643\">3.   จำแนกตามลักษณะการเกิดคลื่น</span><br />\n </dd>\n<dd>       3.1   คลื่นดล (Pulse wave)   <wbr></wbr>เป็น<wbr></wbr>คลื่น<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>เกิดจาก<wbr></wbr>แหล่งกำเนิด<wbr></wbr>ถูกรบกวน<wbr></wbr>เพียงครั้งเดียว<br />\n </dd>\n<dd>       3.2   คลื่นต่อเนื่อง (Continuous wave)   <wbr></wbr>เป็น<wbr></wbr>คลื่น<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>เกิดจาก<wbr></wbr>แหล่งกำเนิด<wbr></wbr>ถูกรบกวน<wbr></wbr>เป็นจังหวะ<wbr></wbr>ต่อเนื่อง \n<p> <span style=\"color: #087008; font-size: x-small\"><b>ส่วนประกอบ<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>คลื่น</b></span><br />\n </p></dd>\n<dd><span style=\"color: blue\">สันคลื่น (Crest)</span>   เป็น<wbr></wbr>ตำแหน่งสูงสุด<wbr></wbr>ของคลื่น หรือเป็น<wbr></wbr>ตำแหน่ง<wbr></wbr>ที่มี<wbr></wbr>การกระจัด<wbr></wbr>สูงสุด<wbr></wbr>ในทางบวก<wbr></wbr><br />\n </dd>\n<dd><span style=\"color: blue\">ท้องคลื่น (Crest)</span>   เป็น<wbr></wbr>ตำแหน่งต่ำสุด<wbr></wbr>ของคลื่น หรือเป็น<wbr></wbr>ตำแหน่ง<wbr></wbr>ที่มี<wbr></wbr>การกระจัด<wbr></wbr>สูงสุด<wbr></wbr>ในทางลบ<wbr></wbr><br />\n </dd>\n<dd><span style=\"color: blue\">แอมพลิจูด (Amplitude)</span>   เป็น<wbr></wbr>ระยะ<wbr></wbr>การกระจัด<wbr></wbr>มากสุด ทั้งค่าบวก<wbr></wbr>และ<wbr></wbr>ค่าลบ<br />\n </dd>\n<dd><span style=\"color: blue\">ความยาวคลื่น (wavelength)</span>   เป็น<wbr></wbr>ความยาว<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>คลื่น<wbr></wbr>หนึ่ง<wbr></wbr>ลูก<wbr></wbr>มี<wbr></wbr>ค่า<wbr></wbr>เท่ากับระยะ<wbr></wbr>ระหว่าง<wbr></wbr>สันคลื่น<wbr></wbr>หรือ<wbr></wbr>ท้องคลื่น<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>อยู่<wbr></wbr>ถัด<wbr></wbr><wbr></wbr>กัน ความยาวคลื่น<wbr></wbr>แทน<wbr></wbr>ด้วย<wbr></wbr>สัญลักษณ์ <img tppabs=\"http://www.school.net.th/library/snet3/saowalak/wave/w_length.gif\" src=\"http://www.school.net.th/library/snet3/saowalak/wave/w_length.gif\" align=\"bottom\" height=\"17\" width=\"15\" /> มีหน่วยเป็นเมตร (m) <br />\n </dd>\n<dd><span style=\"color: blue\">ความถี่ (frequency)</span>   หมายถึง จำนวน<wbr></wbr>ลูก<wbr></wbr>คลื่น<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>เคลื่อน<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>ผ่าน<wbr></wbr>ตำแหน่ง<wbr></wbr>ใด ๆ ใน<wbr></wbr>หนึ่ง<wbr></wbr>หน่วย<wbr></wbr>เวลา แทน<wbr></wbr>ด้วย<wbr></wbr>สัญลักษณ์ <img tppabs=\"http://www.school.net.th/library/snet3/saowalak/wave/w_freq.gif\" src=\"http://www.school.net.th/library/snet3/saowalak/wave/w_freq.gif\" align=\"bottom\" height=\"20\" width=\"15\" /> มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาที (s<sup>-1</sup>) หรือ เฮิรตซ์ (Hz) <br />\n </dd>\n<dd><span style=\"color: blue\">คาบ (period)</span>   หมายถึง ช่วงเวลา<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>คลื่น<wbr></wbr>เคลื่อนที่<wbr></wbr>ผ่าน<wbr></wbr>ตำแหน่ง<wbr></wbr>ใด ๆ ครบ<wbr></wbr>หนึ่ง<wbr></wbr>ลูกคลื่น แทน<wbr></wbr>ด้วย<wbr></wbr>สัญลักษณ์ <img tppabs=\"http://www.school.net.th/library/snet3/saowalak/wave/w_period.gif\" src=\"http://www.school.net.th/library/snet3/saowalak/wave/w_period.gif\" align=\"bottom\" height=\"17\" width=\"16\" /> มีหน่วยเป็นวินาทีต่อรอบ (s) <br />\n </dd>\n<dd><span style=\"color: blue\">อัตราเร็ว<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>คลื่น (wave speed)</span>   หา<wbr></wbr>ได้<wbr></wbr>จาก<wbr></wbr>ผลคูณ<wbr></wbr>ระหว่าง<wbr></wbr>ความยาวคลื่น<wbr></wbr>และ<wbr></wbr>ความถี่ \n<p> <span style=\"color: #087008; font-size: x-small\"><b>สมบัติของคลื่น (wave properties)</b></span> </p></dd>\n<dd>คลื่น<wbr></wbr>ทุก<wbr></wbr>ชนิด<wbr></wbr>แสดง<wbr></wbr>สมบัติ 4 อย่าง คือ<wbr></wbr>การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และ<wbr></wbr>การเลี้ยวเบน <br />\n </dd>\n<dd><span style=\"color: #ff00ff\">การสะท้อน (reflection)</span>   เกิด<wbr></wbr>จาก<wbr></wbr>คลื่น<wbr></wbr>เคลื่อนที่<wbr></wbr>ไป<wbr></wbr>กระทบ<wbr></wbr>สิ่งกีดขวาง แล้ว<wbr></wbr>เปลี่ยน<wbr></wbr>ทิศทาง<wbr></wbr>กลับ<wbr></wbr>สู่<wbr></wbr>ตัวกลาง<wbr></wbr>เดิม <br />\n </dd>\n<dd><span style=\"color: #ff00ff\">การหักเห (refraction)</span>   เกิด<wbr></wbr>จาก<wbr></wbr>คลื่น<wbr></wbr>เคลื่อนที่<wbr></wbr>ผ่าน<wbr></wbr>ตัวกลาง<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>ต่างกัน แล้ว<wbr></wbr>ทำ<wbr></wbr>ให้<wbr></wbr>อัตราเร็ว<wbr></wbr>เปลี่ยนไป <br />\n </dd>\n<dd><span style=\"color: #ff00ff\">การเลี้ยวเบน (diffraction)</span>   เกิดจาก<wbr></wbr>คลื่น<wbr></wbr>เคลื่อนที่<wbr></wbr>ไป<wbr></wbr>พบ<wbr></wbr>สิ่งกีดขวาง ทำ<wbr></wbr>ให้<wbr></wbr>คลื่น<wbr></wbr>ส่วน<wbr></wbr>หนึ่ง<wbr></wbr>อ้อม<wbr></wbr>บริเวณ<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>สิ่งกีดขวาง<wbr></wbr>แผ่<wbr></wbr>ไป<wbr></wbr>ทางด้านหลัง<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>สิ่งกีดขวาง<wbr></wbr>นั้น <br />\n </dd>\n<dd><span style=\"color: #ff00ff\">การแทรกสอด (interference)</span>   เกิด<wbr></wbr>จาก<wbr></wbr>คลื่น<wbr></wbr>สอง<wbr></wbr>ขบวน<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>เหมือน<wbr></wbr>กัน<wbr></wbr>ทุก<wbr></wbr>ประการ<wbr></wbr>เคลื่อนที่<wbr></wbr>มา<wbr></wbr>พบ<wbr></wbr>กัน แล้ว<wbr></wbr>เกิด<wbr></wbr>การ<wbr></wbr>ซ้อนทับ<wbr></wbr>กัน ถ้าเป็น<wbr></wbr>คลื่นแสง<wbr></wbr>จะ<wbr></wbr>เห็น<wbr></wbr>แถบมืด<wbr></wbr>และ<wbr></wbr>แถบสว่าง<wbr></wbr>สลับ<wbr></wbr>กัน ส่วน<wbr></wbr>คลื่นเสียง<wbr></wbr>จะ<wbr></wbr>ได้ยิน<wbr></wbr>เสียงดังเสียงค่อย<wbr></wbr>สลับ<wbr></wbr>กัน</dd>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><a href=\"/node/51819\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20965/back.gif\" height=\"100\" width=\"93\" /></a>                               <img border=\"0\" src=\"/files/u20965/home.gif\" height=\"100\" width=\"94\" />                                     <a href=\"/node/51881\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20965/next.gif\" height=\"100\" width=\"98\" /></a>        </p>\n', created = 1729428248, expire = 1729514648, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:186e69b1f3465c83e21ebfe758eaf6da' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คลื่น

ชนิดของคลื่น
คลื่นเป็นปรากฎการณ์ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่รูปแบบหนึ่ง คลื่นสามารถจำแนกตามลักษณะต่าง ๆได้ดังนี้
1.   จำแนกตามลักษณะการอาศัยตัวกลาง
       1.1   คลื่นกล (Mechanical wave)   เป็นคลื่นที่เคลื่อนที่โดยอาศัยตัวกลางซึ่งอาจเป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซก็ได้ ตัวอย่างของคลื่นกลได้แก่ คลื่นเสียง คลื่นที่ผิวน้ำ คลื่นในเส้นเชือก เป็นต้น
       1.2   คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic waves)   เป็นคลื่นที่เคลื่อนที่โดยไม่อาศัยตัวกลาง สามารถเคลื่อนที่ในสุญญากาศได้ เช่น คลื่นแสง คลื่นวิทยุและโทรทัศน์ คลื่นไมโครเวฟ รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา เป็นต้น
2.   จำแนกตามลักษณะการเคลื่อนที่
       2.1   คลื่นตามขวาง (Transverse wave)   เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ในทิศตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น ตัวอย่างของคลื่นตามขวางได้แก่ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
       2.2   คลื่นตามยาว (Longitudinal wave)   เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ไปมาในแนวเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น ตัวอย่างของคลื่นตามยาวได้แก่ คลื่นเสียง
3.   จำแนกตามลักษณะการเกิดคลื่น
       3.1   คลื่นดล (Pulse wave)   เป็นคลื่นที่เกิดจากแหล่งกำเนิดถูกรบกวนเพียงครั้งเดียว
       3.2   คลื่นต่อเนื่อง (Continuous wave)   เป็นคลื่นที่เกิดจากแหล่งกำเนิดถูกรบกวนเป็นจังหวะต่อเนื่อง

ส่วนประกอบของคลื่น

สันคลื่น (Crest)   เป็นตำแหน่งสูงสุดของคลื่น หรือเป็นตำแหน่งที่มีการกระจัดสูงสุดในทางบวก
ท้องคลื่น (Crest)   เป็นตำแหน่งต่ำสุดของคลื่น หรือเป็นตำแหน่งที่มีการกระจัดสูงสุดในทางลบ
แอมพลิจูด (Amplitude)   เป็นระยะการกระจัดมากสุด ทั้งค่าบวกและค่าลบ
ความยาวคลื่น (wavelength)   เป็นความยาวของคลื่นหนึ่งลูกมีค่าเท่ากับระยะระหว่างสันคลื่นหรือท้องคลื่นที่อยู่ถัดกัน ความยาวคลื่นแทนด้วยสัญลักษณ์ มีหน่วยเป็นเมตร (m)
ความถี่ (frequency)   หมายถึง จำนวนลูกคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านตำแหน่งใด ๆ ในหนึ่งหน่วยเวลา แทนด้วยสัญลักษณ์ มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาที (s-1) หรือ เฮิรตซ์ (Hz)
คาบ (period)   หมายถึง ช่วงเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านตำแหน่งใด ๆ ครบหนึ่งลูกคลื่น แทนด้วยสัญลักษณ์ มีหน่วยเป็นวินาทีต่อรอบ (s)
อัตราเร็วของคลื่น (wave speed)   หาได้จากผลคูณระหว่างความยาวคลื่นและความถี่

สมบัติของคลื่น (wave properties)

คลื่นทุกชนิดแสดงสมบัติ 4 อย่าง คือการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบน
การสะท้อน (reflection)   เกิดจากคลื่นเคลื่อนที่ไปกระทบสิ่งกีดขวาง แล้วเปลี่ยนทิศทางกลับสู่ตัวกลางเดิม
การหักเห (refraction)   เกิดจากคลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่ต่างกัน แล้วทำให้อัตราเร็วเปลี่ยนไป
การเลี้ยวเบน (diffraction)   เกิดจากคลื่นเคลื่อนที่ไปพบสิ่งกีดขวาง ทำให้คลื่นส่วนหนึ่งอ้อมบริเวณของสิ่งกีดขวางแผ่ไปทางด้านหลังของสิ่งกีดขวางนั้น
การแทรกสอด (interference)   เกิดจากคลื่นสองขบวนที่เหมือนกันทุกประการเคลื่อนที่มาพบกัน แล้วเกิดการซ้อนทับกัน ถ้าเป็นคลื่นแสงจะเห็นแถบมืดและแถบสว่างสลับกัน ส่วนคลื่นเสียงจะได้ยินเสียงดังเสียงค่อยสลับกัน

                                                                           

สร้างโดย: 
นายอุกฤษฏ์ นันอุมาลี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 394 คน กำลังออนไลน์