• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6f2a0a3241b494dbd5b4ad2e9bda00b5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff99cc\">6. ต่อมเพศ</span> <span style=\"color: #cc99ff\">ในเพศชายคือ อัณฑะ ในเพศหญิงคือรังไข่</span> ซึ่งมีหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ และสร้างฮอร์โมน ดังนี้\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #99ccff\">1) ฮอร์โมนเพศชาย</span> คือ <span style=\"color: #99cc00\">เทสทอสเตอโรน</span> ซึ่งทำหน้าที่หลายอย่าง เช่น ควบคุมการ เจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ <br />\nควบคุมการหลั่งฮอร์โมนของเพศชาย\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #99ccff\">2) ฮอร์โมนเพศหญิง</span> คือ <span style=\"color: #99cc00\">เอสโตรเจน</span> ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของอวัยวะ สืบพันธุ์ และลักษณะต่างๆของ<br />\nความเป็นเพศหญิง แล้วฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน จะทำหน้าที่ระงับ ไม่ให้ไข่สุกระหว่างตั้งครรภ์เพื่อป้องกันไม่ให้มีประจำเดือนระหว่างตั้งครรภ์\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\">7. ฮอร์โมนจากรก</span> หลังจากตั้งไข่ประมาณ 10 วัน เซลล์ของรกจะเริ่มหลั่งฮอร์โมน ชนิดหนึ่งออกมา ซึ่งจะพบในเลือดและ<br />\nในปัสสาวะของผู้หญิงที่มีการตั้งครรภ์ ดังนั้นจึงใช้เป็นตัว ทดสอบการตั้งครรภ์ของผู้หญิงได้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\">8. ต่อมเหนือสมอง </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff99cc\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #99ccff\">1. ฮอร์โมนประสาท</span> กระตุ้นและยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า , ส่วนกลาง\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #99ccff\">2. Oxytocin</span> กระตุ้นกล้ามเนื้อมดลูกให้หดตัวเพื่อช่วยลดในการคลอด และ ให้ตัวอสุจิเคลื่อนภายในมดลูก <br />\nกระตุ้นการหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้ำนม เพื่อหลั่งน้ำนม\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #99ccff\">3. ADH ( Antidiuratic Hormone ) หรือ Vasopressin</span> กระตุ้นให้เส้นเลือดแดงเล็กๆ หดตัว ทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น<br />\nกระตุ้นให้ท่อของหน่วยไตส่วนท้ายและส่วนรวมมีการดูดน้ำกลับคืน <span style=\"color: #cc99ff\">ถ้าร่างกายขาด ADH จะปัสสาวะมาก <br />\nทำให้เกิดโรคเบาจืด ( Diabetes inspidus : DS )</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\">9. ฮอร์โมนจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ สรุปได้ดังนี้</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff99cc\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #99ccff\">1. glucagon</span> สร้างจาก<span style=\"color: #99cc00\">แอลฟาเซล</span><span style=\"color: #99cc00\">ล์ </span>เป็นเซลล์ขนาดใหญ่อยู่ภายนอก ทำหน้าที่เปลี่ยน glycogen ในตับและกล้ามเนื้อ<br />\nให้เป็นglucose ในเลือด\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #99ccff\">2. insulin</span> สร้างจาก<span style=\"color: #99cc00\">เบตาเซลล์</span> เป็นเซลล์ขนาดเล็กอยู่ภายใน ทำหน้าที่เปลี่ยน glucose ในเลือดให้เป็น glycogen <span style=\"color: #cc99ff\">ในตับ<br />\nถ้าขาด insulin ทำให้เกิดโรคเบาหวาน ( diabetes mellitus )</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"240\" src=\"http://upic.me/i/or/bmb38.jpg\" height=\"189\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\">10. ต่อมไทมัสสร้างฮอร์โมน ไทโมซิน ไปอวัยวะเป้าหมาย</span> คือ เนื้อเยื่อของต่อไทมัส ไปกระตุ้นการสร้าง T-lymphocyte <br />\nของต่อมไทมัส เจริญเต็มที่ตั้งแต่ทารกยังอยู่ในครรภ์มารดาและจะเสื่อมสภาพและฝอไปเรื่อยๆตามอายุตั้งแต่เข้าสู่วัยรุ่น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727766637, expire = 1727853037, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6f2a0a3241b494dbd5b4ad2e9bda00b5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบต่อมไร้ท่อ (2)

6. ต่อมเพศ ในเพศชายคือ อัณฑะ ในเพศหญิงคือรังไข่ ซึ่งมีหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ และสร้างฮอร์โมน ดังนี้


1) ฮอร์โมนเพศชาย คือ เทสทอสเตอโรน ซึ่งทำหน้าที่หลายอย่าง เช่น ควบคุมการ เจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์
ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนของเพศชาย


2) ฮอร์โมนเพศหญิง คือ เอสโตรเจน ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของอวัยวะ สืบพันธุ์ และลักษณะต่างๆของ
ความเป็นเพศหญิง แล้วฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน จะทำหน้าที่ระงับ ไม่ให้ไข่สุกระหว่างตั้งครรภ์เพื่อป้องกันไม่ให้มีประจำเดือนระหว่างตั้งครรภ์

 

7. ฮอร์โมนจากรก หลังจากตั้งไข่ประมาณ 10 วัน เซลล์ของรกจะเริ่มหลั่งฮอร์โมน ชนิดหนึ่งออกมา ซึ่งจะพบในเลือดและ
ในปัสสาวะของผู้หญิงที่มีการตั้งครรภ์ ดังนั้นจึงใช้เป็นตัว ทดสอบการตั้งครรภ์ของผู้หญิงได้

 

8. ต่อมเหนือสมอง


1. ฮอร์โมนประสาท กระตุ้นและยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า , ส่วนกลาง


2. Oxytocin กระตุ้นกล้ามเนื้อมดลูกให้หดตัวเพื่อช่วยลดในการคลอด และ ให้ตัวอสุจิเคลื่อนภายในมดลูก
กระตุ้นการหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อรอบๆต่อมน้ำนม เพื่อหลั่งน้ำนม


3. ADH ( Antidiuratic Hormone ) หรือ Vasopressin กระตุ้นให้เส้นเลือดแดงเล็กๆ หดตัว ทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น
กระตุ้นให้ท่อของหน่วยไตส่วนท้ายและส่วนรวมมีการดูดน้ำกลับคืน ถ้าร่างกายขาด ADH จะปัสสาวะมาก
ทำให้เกิดโรคเบาจืด ( Diabetes inspidus : DS )

 

9. ฮอร์โมนจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ สรุปได้ดังนี้


1. glucagon สร้างจากแอลฟาเซลล์ เป็นเซลล์ขนาดใหญ่อยู่ภายนอก ทำหน้าที่เปลี่ยน glycogen ในตับและกล้ามเนื้อ
ให้เป็นglucose ในเลือด


2. insulin สร้างจากเบตาเซลล์ เป็นเซลล์ขนาดเล็กอยู่ภายใน ทำหน้าที่เปลี่ยน glucose ในเลือดให้เป็น glycogen ในตับ
ถ้าขาด insulin ทำให้เกิดโรคเบาหวาน ( diabetes mellitus )

 

10. ต่อมไทมัสสร้างฮอร์โมน ไทโมซิน ไปอวัยวะเป้าหมาย คือ เนื้อเยื่อของต่อไทมัส ไปกระตุ้นการสร้าง T-lymphocyte
ของต่อมไทมัส เจริญเต็มที่ตั้งแต่ทารกยังอยู่ในครรภ์มารดาและจะเสื่อมสภาพและฝอไปเรื่อยๆตามอายุตั้งแต่เข้าสู่วัยรุ่น

 

 

 

สร้างโดย: 
นายอมรเทพ ทัศนา นางสาวชยุดา ดีนาน นางสาวเบญจวรรณ เจริญปฐมตระกูล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 363 คน กำลังออนไลน์