• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:96784c7e6fd37d49e0d6ddead1ffaeaa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u19377/p6.gif\" height=\"130\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส (Bus Topology</span>)</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"487\" src=\"/files/u19377/linebus_0.gif\" height=\"167\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">จะประกอบด้วยสายส่งข้อมูลหลักที่ใช้ส่งข้อมูลภายในเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะเชื่อมต่อเข้ากับสายข้อมูลผ่านจุดเชื่อมต่อเมื่อมีการส่งข้อมูล ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องพร้อมกันจะมีสัญญาณข้อมูลส่งไปบนสายเคเบิ้ลและมีการแบ่งเวลาการใช้สายเคเบิ้ลของแต่ละเครื่อง การต่อแบบนี้ ไม่มีตัว ศูนย์กลางควบคุมดังนั้นถ้าหลาย ๆ สถานีต้องการส่งข้อมูลในเวลาเดียวกันก็จะทำให้เกิดการชนกันของข้อมูล วิธีการแก้ไขคือ ต้องรอจนกว่าสายจะว่าง แล้วจึงส่งใหม่ซ้ำอีกครั้ง</span>\n</p>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><strong>ข้อดี</strong></span>\n </p>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">โครงสร้างง่ายต่อการติดต่อ เพราะมีสายส่งสัญญาณเพียงเส้นเดียว</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ประหยัดเพราะสายส่งไม่ยาวมาก</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">การเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์ทำได้ง่ายกว่าแบบอื่น</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใดขัดข้องก็จะไม่ส่งผลกระทบต่อ</span></li>\n</blockquote>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><strong>ข้อเสีย</strong></span>\n </p>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">หากระบบผิดพลาดก็จะหาจุดแก้ไขได้ยาก</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">หากสายสัญญาณข้อมูลเสียหายก็จะทำให้ทั้งระบบไม่สามารถทำได้<br />\n </span></li>\n</blockquote>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (Ring Topology</span>)</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"205\" src=\"/files/u19377/ring_2.gif\" height=\"173\" />\n</p>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">มีการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่แต่ละการเชื่อมต่อจะมีลักษณะเป็นวงกลม การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายนี้ก็จะเป็นวงกลมด้วยเช่นกัน ทิศทางการส่ง ข้อมูลจะเป็นทิศทางเดียวกันเสมอ จากเครื่องหนึ่งไปสู่อีกเครื่องหนึ่งจนถึงปลายทางในกรณีที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งขัดข้อง การส่งข้อมูล ภายในเครือข่ายชนิดนี้ก็จะไม่สามารถทำงานต่อไปได้ </span>\n </p>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><strong>ข้อดี</strong></span>\n </p>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">สามารถส่งข้อมู</span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ลไปยังผู้รับได้หลาย ๆ เครื่องพร้อมกัน</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ครอบคลุมพื้นที่ได้กว้าง</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ไม่สิ้นเปลืองสายสัญญาณสื่อสาร</span> </li>\n</blockquote>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><strong>ข้อเสีย</strong></span>\n </p>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">หากเกิดขัดข้องที่สถานีใดก็จะทำให้ทั้งระบบไม่สามารถใช้งานได้</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">การตรวจสอบข้อผิดพลาดจะต้องตรวจสอบไปทีละสถานี</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">เวลาจะส่งข้อมูลจะต้องให้สายข้อมูลนั้นว่างเสียก่อนจึงจะส่งออกไปได้</span></li>\n</blockquote>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว (Star </span><span style=\"color: #ff0000\">Topology)</span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"333\" src=\"/files/u19377/star_0.gif\" height=\"287\" />\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"></span></p>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาวจะต้องมีจุดศูนย์กลางในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรือฮับ (Hub) การสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบต่าง ๆ จะสื่อสารผ่านฮับก่อนที่จะส่งข้อมูลไปสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ </span>\n </p>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><strong>ข้อดี</strong></span>\n </p>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">เป็นระบบที่ง่ายต่อการติดตั้ง</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">หากเครื่องคอมพิวเตอร์เสียหายก็ไม่ส่งผลกระทบต่อระบบ</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">การตอบสนองที่รวดเร็วเพราะไม่ต้องแย่งใช้สายสื่อสาร</span> </li>\n</blockquote>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><strong>ข้อเสีย</strong></span>\n </p>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">เสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและบำรุงรักษามาก</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">หากHubเกิดขัดข้องก็จะทำให้ทั้งระบบไม่สามารถใช้งานได้</span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">สิ้นเปลืองสายส่งข้อมูล</span> </li>\n</blockquote>\n<p> <b></b><b></b></p>\n<p align=\"center\">\n ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างเครือข่าย<span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"font-family: Times New Roman\">(Topology) </span>\n </p>\n<p> <center></center></p>\n<table border=\"1\" width=\"561\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"1\" borderColor=\"#008000\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"7%\" vAlign=\"middle\"><b><span style=\"font-family: Times New Roman\">\n<p align=\"center\">\n Topology\n </p>\n<p> </p></span></b></td>\n<td width=\"43%\" vAlign=\"middle\"><b>\n<p align=\"center\">\n ข้อดี<span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span>\n </p>\n<p> </p></b></td>\n<td width=\"51%\" vAlign=\"middle\"><b>\n<p align=\"center\">\n ข้อเสีย<span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span>\n </p>\n<p> </p></b></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"7%\" vAlign=\"middle\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">\n<p>\n Complete\n </p>\n<p> </p></span></td>\n<td width=\"43%\" vAlign=\"middle\">\n<p>\n <span style=\"font-family: Times New Roman\">- ไม่มีการชนกันของสัญญาณ<br />\n - มีความน่าเชื่อถือสูงเพราะมีช่องสัญญาณมาก </span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"51%\" vAlign=\"middle\">\n<p>\n <span style=\"font-family: Times New Roman\">- ต้องใช้สายเคเบิลจำนวนมาก<br />\n - มีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสายสูง </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"7%\" vAlign=\"middle\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">\n<p>\n Star\n </p>\n<p> </p></span></td>\n<td width=\"43%\" vAlign=\"middle\">\n<p>\n <span style=\"font-family: Times New Roman\">- เปลี่ยนรูปแบบการวางสายได้ง่าย<br />\n - สามารถเพิ่ม node ได้ง่าย <br />\n - ตรวจสอบจุดที่เป็นปัญหาได้ง่าย </span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"51%\" vAlign=\"middle\">\n<p>\n <span style=\"font-family: Times New Roman\">- ต้องใช้สายเคเบิลจำนวนมาก<br />\n - มีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสายสูง <br />\n - การเชื่อมต่อจากศูนย์กลางทำให้มีโอกาสที่ระบบเครือข่าย จะล้มเหลวพร้อมกันได้ง่าย </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"7%\" vAlign=\"middle\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">\n<p>\n Bus\n </p>\n<p> </p></span></td>\n<td width=\"43%\" vAlign=\"middle\">\n<p>\n <span style=\"font-family: Times New Roman\">- ใช้สายเคเบิลน้อยที่สุด<br />\n - รูปแบบการวางสายง่ายที่สุด <br />\n - มีความเชื่อถือได้สูงเนื่องจากเป็นรูปแบบง่ายที่สุด<br />\n - สามารถขยายระบบได้ง่าย </span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"51%\" vAlign=\"middle\">\n<p>\n <span style=\"font-family: Times New Roman\">- ตรวจสอบหาจุดที่เป็นปัญหาได้ยากมาก<br />\n - ระบบจะมีประสิทธิภาพลดลงอย่างมากถ้ามีการจราจรของข้อมูลสูง </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"7%\" vAlign=\"middle\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">\n<p>\n Ring\n </p>\n<p> </p></span></td>\n<td width=\"43%\" vAlign=\"middle\">\n<p>\n <span style=\"font-family: Times New Roman\">- มีการใช้สายเคเบิลน้อย<br />\n - มีประสิทธิภาพสูง แม้ว่าการจราจรของข้อมูลในเครือข่ายจะมาก <br />\n </span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"51%\" vAlign=\"middle\">\n<p>\n <span style=\"font-family: Times New Roman\">- ถ้ามี node ที่เป็นปัญหาเกิดขึ้นในระบบจะกระทบกับทั้งเครือข่าย<br />\n - การตรวจหาปัญหาทำได้ยาก <br />\n - การเปลี่ยนแปลงเครือข่ายทำได้ยากและอาจต้องหยุดการใช้งานเครือข่ายชั่วคราว </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"7%\" vAlign=\"middle\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">\n<p>\n Net\n </p>\n<p> </p></span></td>\n<td width=\"43%\" vAlign=\"middle\">\n<p>\n <span style=\"font-family: Times New Roman\">- มีความน่าเชื่อถือสูงเหมือนแบบ Complete แต่ประหยัดสายสัญญาณมากกว่า</span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"51%\" vAlign=\"middle\">\n<p>\n <span style=\"font-family: Times New Roman\">- ต้องใช้สายเคเบิลจำนวนมาก<br />\n - มีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสายสูง </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <a href=\"/node/43402\"><img border=\"0\" width=\"234\" src=\"/files/u19377/restart.gif\" height=\"136\" /></a>\n </div>\n</blockquote>\n<p></p>\n', created = 1726990528, expire = 1727076928, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:96784c7e6fd37d49e0d6ddead1ffaeaa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โครงสร้างเครือข่าย2

โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส (Bus Topology)

จะประกอบด้วยสายส่งข้อมูลหลักที่ใช้ส่งข้อมูลภายในเครือข่าย เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะเชื่อมต่อเข้ากับสายข้อมูลผ่านจุดเชื่อมต่อเมื่อมีการส่งข้อมูล ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องพร้อมกันจะมีสัญญาณข้อมูลส่งไปบนสายเคเบิ้ลและมีการแบ่งเวลาการใช้สายเคเบิ้ลของแต่ละเครื่อง การต่อแบบนี้ ไม่มีตัว ศูนย์กลางควบคุมดังนั้นถ้าหลาย ๆ สถานีต้องการส่งข้อมูลในเวลาเดียวกันก็จะทำให้เกิดการชนกันของข้อมูล วิธีการแก้ไขคือ ต้องรอจนกว่าสายจะว่าง แล้วจึงส่งใหม่ซ้ำอีกครั้ง

ข้อดี

  • โครงสร้างง่ายต่อการติดต่อ เพราะมีสายส่งสัญญาณเพียงเส้นเดียว
  • ประหยัดเพราะสายส่งไม่ยาวมาก
  • การเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์ทำได้ง่ายกว่าแบบอื่น
  • หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใดขัดข้องก็จะไม่ส่งผลกระทบต่อ
  • ข้อเสีย

  • หากระบบผิดพลาดก็จะหาจุดแก้ไขได้ยาก
  • หากสายสัญญาณข้อมูลเสียหายก็จะทำให้ทั้งระบบไม่สามารถทำได้
  • โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (Ring Topology)

    มีการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่แต่ละการเชื่อมต่อจะมีลักษณะเป็นวงกลม การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายนี้ก็จะเป็นวงกลมด้วยเช่นกัน ทิศทางการส่ง ข้อมูลจะเป็นทิศทางเดียวกันเสมอ จากเครื่องหนึ่งไปสู่อีกเครื่องหนึ่งจนถึงปลายทางในกรณีที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งขัดข้อง การส่งข้อมูล ภายในเครือข่ายชนิดนี้ก็จะไม่สามารถทำงานต่อไปได้

    ข้อดี

  • สามารถส่งข้อมูลไปยังผู้รับได้หลาย ๆ เครื่องพร้อมกัน
  • ครอบคลุมพื้นที่ได้กว้าง
  • ไม่สิ้นเปลืองสายสัญญาณสื่อสาร
  • ข้อเสีย

  • หากเกิดขัดข้องที่สถานีใดก็จะทำให้ทั้งระบบไม่สามารถใช้งานได้
  • การตรวจสอบข้อผิดพลาดจะต้องตรวจสอบไปทีละสถานี
  • เวลาจะส่งข้อมูลจะต้องให้สายข้อมูลนั้นว่างเสียก่อนจึงจะส่งออกไปได้
  • โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว (Star Topology)

    ภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาวจะต้องมีจุดศูนย์กลางในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรือฮับ (Hub) การสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบต่าง ๆ จะสื่อสารผ่านฮับก่อนที่จะส่งข้อมูลไปสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ

    ข้อดี

  • เป็นระบบที่ง่ายต่อการติดตั้ง
  • หากเครื่องคอมพิวเตอร์เสียหายก็ไม่ส่งผลกระทบต่อระบบ
  • การตอบสนองที่รวดเร็วเพราะไม่ต้องแย่งใช้สายสื่อสาร
  • ข้อเสีย

  • เสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและบำรุงรักษามาก
  • หากHubเกิดขัดข้องก็จะทำให้ทั้งระบบไม่สามารถใช้งานได้
  • สิ้นเปลืองสายส่งข้อมูล
  • ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างเครือข่าย (Topology)

    Topology

    ข้อดี

    ข้อเสีย

    Complete

    - ไม่มีการชนกันของสัญญาณ
    - มีความน่าเชื่อถือสูงเพราะมีช่องสัญญาณมาก

    - ต้องใช้สายเคเบิลจำนวนมาก
    - มีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสายสูง

    Star

    - เปลี่ยนรูปแบบการวางสายได้ง่าย
    - สามารถเพิ่ม node ได้ง่าย
    - ตรวจสอบจุดที่เป็นปัญหาได้ง่าย

    - ต้องใช้สายเคเบิลจำนวนมาก
    - มีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสายสูง
    - การเชื่อมต่อจากศูนย์กลางทำให้มีโอกาสที่ระบบเครือข่าย จะล้มเหลวพร้อมกันได้ง่าย

    Bus

    - ใช้สายเคเบิลน้อยที่สุด
    - รูปแบบการวางสายง่ายที่สุด
    - มีความเชื่อถือได้สูงเนื่องจากเป็นรูปแบบง่ายที่สุด
    - สามารถขยายระบบได้ง่าย

    - ตรวจสอบหาจุดที่เป็นปัญหาได้ยากมาก
    - ระบบจะมีประสิทธิภาพลดลงอย่างมากถ้ามีการจราจรของข้อมูลสูง

    Ring

    - มีการใช้สายเคเบิลน้อย
    - มีประสิทธิภาพสูง แม้ว่าการจราจรของข้อมูลในเครือข่ายจะมาก

    - ถ้ามี node ที่เป็นปัญหาเกิดขึ้นในระบบจะกระทบกับทั้งเครือข่าย
    - การตรวจหาปัญหาทำได้ยาก
    - การเปลี่ยนแปลงเครือข่ายทำได้ยากและอาจต้องหยุดการใช้งานเครือข่ายชั่วคราว

    Net

    - มีความน่าเชื่อถือสูงเหมือนแบบ Complete แต่ประหยัดสายสัญญาณมากกว่า

    - ต้องใช้สายเคเบิลจำนวนมาก
    - มีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสายสูง

     

     

     

     

    สร้างโดย: 
    ครูวีรานุช วิจารณ์ปรีชา

    มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
     

     ช่วยด้วยครับ
    นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
    คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
    ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
    หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
    ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
    มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

    ช่วยกันนะครับ 
    ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
    ไม่ถูกปิดเสียก่อน

    ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

    อ่านรายละเอียด

    ด่วน...... ขณะนี้
    พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
    มีผลบังคับใช้แล้ว 
    ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
    เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
    ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
    อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

     

    สมาชิกที่ออนไลน์

    ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 307 คน กำลังออนไลน์