• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:28778e7d3b3aa41e1ebe4c34499a2433' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>เมื่อต้องเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม</strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\nเป็นที่สังเกตได้ชัดว่ากระแสตื่นตัวเรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน สังคมได้ให้ความสำคัญกับกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น “สินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” จึงเป็นอีกทางเลือกของผู้บริโภค\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม คือผลิตภัณฑ์ที่มีการจัดการทรัพยากรการผลิตให้ที่มุ่งเน้นการประหยัดพลังงาน และรักษาสิ่งแวดล้อม โดยใช้กระบวนการทางเทคโนโลยีสะอาด อีกทั้งที่ระหว่างการใช้งานจะต้องลดการปล่อยของเสียและมลพิษ รวมทั้งเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และที่สำคัญคือการให้ผู้ผลิต ต้องรองรับการเก็บขยะอิเล็กทรอนิกส์และต้องรับผิดชอบในการรับคืนซากของผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช้งานแล้ว เพื่อรีไซเคิลหรือกำจัดอย่างปลอดภัย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\nและเป็นที่น่ายินดีว่า หลายประเทศทั่วโลกได้ตื่นตัวที่จะรับมือกับปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์จริงจังขึ้น เห็นได้จากการออกกฎระเบียบและมาตรการต่างๆ ที่หวังจะให้ขยะอิเล็กทรอนิกส์ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์ลดลง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\nกลุ่มสหภาพยุโรป ได้มีการออกกฎระเบียบและมาตรการ เช่น WEEE (Waste Electrical and Electronic Equipment Directive) รวมทั้ง RoHS (Restriction of Hazardous Substances Directive) ซึ่งเป็นระเบียบว่าด้วยเศษซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และระเบียบว่าด้วยการกำจัดการใช้สารที่เป็นสารอันตรายบางประเภท โดยที่ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถวางจำหน่ายในตลาดของประเทศในกลุ่มอียูได้จะต้องมีกระบวนการผลิตที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม โดยกำหนดให้มีมาตรการกำจัดขยะเหล่านี้อย่างถูกวิธี  โดยในอนาคต WEEE มีเป้าหมายที่ต้องการให้ผู้ผลิตคำนึงถึงตลอดช่วงของวงจรชีวิตการใช้งานของผลิตภัณฑ์  และไปจนถึงเมื่อหมดสภาพการใช้งาน เพื่อให้การออกแบผลิตภัณฑ์มีประสิทธิภาพมากขึ้นในด้านของสิ่งแวดล้อม<br />\n \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\nในอนาคต WEEE มีเป้าหมายที่ต้องการให้ผู้ผลิตคำนึงถึงตลอดช่วงของวงจรชีวิตการใช้งานของผลิตภัณฑ์  และไปจนถึงเมื่อหมดสภาพการใช้งาน เพื่อให้การออกแบผลิตภัณฑ์มีประสิทธิภาพมากขึ้นในด้านของสิ่งแวดล้อม\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\nประเทศในเอเชีย หลายประเทศมีการออกกฎหมายและมาตรการต่างๆเพื่อรองรับขยะอิเล็กทรอนิกส์ขึ้น มีการศึกษาถึงแนวทางที่จะสรรหามาตรการที่เหมาะสม รวมทั้งการกระตุ้นให้หน่วยงานรัฐบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\nสำหรับประเทศไทย หนึ่งในประเทศที่เป็นปลายทางของขยะอิเล็กทรอนิกส์  เมื่อวันพุธที่ 9พฤษภาคม 2550 มีการขอเสนอญัตติให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาปัญหามลพิษ จากขยะและของเสียอันตรายการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\nแผนร่างกฎหมายที่จะใช้ควบคุมประเด็นปัญหาของขยะอิเล็กทรอนิกส์ของไทยอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของ กรมควบคุมมลพิษ(คพ.) และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(ทส.) ได้ทำการร่างแผนยุทธศาสตร์การจัดการของเสียและขยะอิเล็กทรอนิกส์และนำส่งให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพิจารณา แต่ถึงขณะนี้ยังไม่มีการประกาศบังคับใช้แต่อย่างใด  สำหรับเนื้อหาใน พรบ. การดูแลซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์แนวทางการควบคุมที่ต้นทาง โดยการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม ภาษี จากผู้นำเข้าสินค้าและผู้ผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศ แล้วนำเงินไปบริหารจัดการ การควบคุมที่ปลายทาง จะสนับสนุนให้เกิดโรงแยกขยะแบบครบวงจรจากแหล่งกำเนิดและพื้นที่ต่างๆ ในประเทศ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\nคงต้องลุ้นและเอาใจช่วยให้ พรบ.การดูแลซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ ถือกำเนิดขึ้นในประเทศไทยไวๆ เพราะนั้นหมายถึงอนาคตที่ดีของสิ่งแวดล้อม ดีกว่ารอมาตราหรือการได้รับประโยชน์จากกฎหมายขยะอิเล็กทรอนิกส์จากต่างประเทศอย่างเดียว\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715597304, expire = 1715683704, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:28778e7d3b3aa41e1ebe4c34499a2433' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เมื่อต้องเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

เมื่อต้องเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

 


เป็นที่สังเกตได้ชัดว่ากระแสตื่นตัวเรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน สังคมได้ให้ความสำคัญกับกิจกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น “สินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” จึงเป็นอีกทางเลือกของผู้บริโภค

 

 

 

 

สินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม คือผลิตภัณฑ์ที่มีการจัดการทรัพยากรการผลิตให้ที่มุ่งเน้นการประหยัดพลังงาน และรักษาสิ่งแวดล้อม โดยใช้กระบวนการทางเทคโนโลยีสะอาด อีกทั้งที่ระหว่างการใช้งานจะต้องลดการปล่อยของเสียและมลพิษ รวมทั้งเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และที่สำคัญคือการให้ผู้ผลิต ต้องรองรับการเก็บขยะอิเล็กทรอนิกส์และต้องรับผิดชอบในการรับคืนซากของผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช้งานแล้ว เพื่อรีไซเคิลหรือกำจัดอย่างปลอดภัย

 


และเป็นที่น่ายินดีว่า หลายประเทศทั่วโลกได้ตื่นตัวที่จะรับมือกับปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์จริงจังขึ้น เห็นได้จากการออกกฎระเบียบและมาตรการต่างๆ ที่หวังจะให้ขยะอิเล็กทรอนิกส์ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์ลดลง

 


กลุ่มสหภาพยุโรป ได้มีการออกกฎระเบียบและมาตรการ เช่น WEEE (Waste Electrical and Electronic Equipment Directive) รวมทั้ง RoHS (Restriction of Hazardous Substances Directive) ซึ่งเป็นระเบียบว่าด้วยเศษซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และระเบียบว่าด้วยการกำจัดการใช้สารที่เป็นสารอันตรายบางประเภท โดยที่ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถวางจำหน่ายในตลาดของประเทศในกลุ่มอียูได้จะต้องมีกระบวนการผลิตที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม โดยกำหนดให้มีมาตรการกำจัดขยะเหล่านี้อย่างถูกวิธี  โดยในอนาคต WEEE มีเป้าหมายที่ต้องการให้ผู้ผลิตคำนึงถึงตลอดช่วงของวงจรชีวิตการใช้งานของผลิตภัณฑ์  และไปจนถึงเมื่อหมดสภาพการใช้งาน เพื่อให้การออกแบผลิตภัณฑ์มีประสิทธิภาพมากขึ้นในด้านของสิ่งแวดล้อม
 

 

 

 

 


ในอนาคต WEEE มีเป้าหมายที่ต้องการให้ผู้ผลิตคำนึงถึงตลอดช่วงของวงจรชีวิตการใช้งานของผลิตภัณฑ์  และไปจนถึงเมื่อหมดสภาพการใช้งาน เพื่อให้การออกแบผลิตภัณฑ์มีประสิทธิภาพมากขึ้นในด้านของสิ่งแวดล้อม

 


ประเทศในเอเชีย หลายประเทศมีการออกกฎหมายและมาตรการต่างๆเพื่อรองรับขยะอิเล็กทรอนิกส์ขึ้น มีการศึกษาถึงแนวทางที่จะสรรหามาตรการที่เหมาะสม รวมทั้งการกระตุ้นให้หน่วยงานรัฐบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง

 


สำหรับประเทศไทย หนึ่งในประเทศที่เป็นปลายทางของขยะอิเล็กทรอนิกส์  เมื่อวันพุธที่ 9พฤษภาคม 2550 มีการขอเสนอญัตติให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาปัญหามลพิษ จากขยะและของเสียอันตรายการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

 


แผนร่างกฎหมายที่จะใช้ควบคุมประเด็นปัญหาของขยะอิเล็กทรอนิกส์ของไทยอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของ กรมควบคุมมลพิษ(คพ.) และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(ทส.) ได้ทำการร่างแผนยุทธศาสตร์การจัดการของเสียและขยะอิเล็กทรอนิกส์และนำส่งให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพิจารณา แต่ถึงขณะนี้ยังไม่มีการประกาศบังคับใช้แต่อย่างใด  สำหรับเนื้อหาใน พรบ. การดูแลซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์แนวทางการควบคุมที่ต้นทาง โดยการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม ภาษี จากผู้นำเข้าสินค้าและผู้ผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศ แล้วนำเงินไปบริหารจัดการ การควบคุมที่ปลายทาง จะสนับสนุนให้เกิดโรงแยกขยะแบบครบวงจรจากแหล่งกำเนิดและพื้นที่ต่างๆ ในประเทศ

 


คงต้องลุ้นและเอาใจช่วยให้ พรบ.การดูแลซากผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ ถือกำเนิดขึ้นในประเทศไทยไวๆ เพราะนั้นหมายถึงอนาคตที่ดีของสิ่งแวดล้อม ดีกว่ารอมาตราหรือการได้รับประโยชน์จากกฎหมายขยะอิเล็กทรอนิกส์จากต่างประเทศอย่างเดียว

 

 

สร้างโดย: 
นางสาวธิติญา ธำรงวัฒนา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 258 คน กำลังออนไลน์