• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('microsoft office word 2003', 'node/55537', '', '3.144.220.204', 0, 'fb8bace6801c3c48c372d506029ea981', 124, 1716230343) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3e728ea80b25fd536dd565f981f917d6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><a href=\"/node/43095\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20308/green-house-edited-for-home_1_.jpg\" style=\"width: 82px; height: 87px\" height=\"253\" width=\"233\" /></a> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>การจับไม้</strong>\n</p>\n<p>\n        การจับไม้ระนาดเอกที่ถูกวิธีมีส่วนช่วยทำให้การบรรเลงมีคุณภาพและเกิดความไพเราะ หลักการจับไม้ระนาดเอกที่ถูกต้องคือนิ้วทุกนิ้วจะต้องจับไม้ระนาดให้แน่นโดยมี ความยาวประมาณ 1 ในสามของก้านไม้ เมื่อเริ่มจับให้หงายฝ่ามือขึ้นให้ก้านไม้ระนาดวางพาดกระชับกับร่องกลางตรงข้อมือและเลยเข้าไปใต้แขนเล็กน้อย นิ้วชี้เหยียดหงายรองรับก้านไม้ระนาดไว้ นิ้วหัวแม่มือบีบกระชับด้านข้างของก้านไม้ นิ้วกลาง นิ้วนาง และ นิ้วก้อยรวบจับก้านไม้ระนาดไว้ให้แน่น\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20308/playranad3_1_.jpg\" style=\"width: 92px; height: 188px\" height=\"251\" width=\"111\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nแหล่งที่มาภาพ  : <a href=\"http://nugranad.org/images/playranad3.jpg\">http://nugranad.org/images/playranad3.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<br />\n         เมื่อจับก้านไม้ระนาดแน่นแล้ว ให้พลิกฝ่ามือและแขนคว่ำลงโดยไม่ต้องเกร็งกล้ามเนื้อ โดยให้ก้านไม้ระนาดยังคงอยู่ระหว่างตรงกลางร่องมือพอดี ข้อศอกและไหล่แนบกับลำตัวโดยให้แนวไม้ระนาดกับแขนของผู้บรรเลงเป็นแนวเส้นตรงเดียวกัน<br />\n <br />\nการจับไม้ระนาดเอกแบ่งออกเป็น 3 แบบคือ<br />\n         1. การจับแบบ &quot;ปากกา&quot; คือการจับโดยให้ก้านไม้ระนาดแนบอยู่กลางร่องมือ ใช้นิ้วกลาง นิ้วนาง และ นิ้วก้อย รวบกำก้านไม้ระนาดให้นิ้วเรียงชิดติดกัน ส่วนนิ้วหัวแม่มือวางแนบขนานไปกับก้านไม้และปลายนิ้วชี้แตะอยู่บนก้านไม้ระนาดทำมุมประมาณ 45 องศา <br />\n<strong>         ประโยชน์ของการจับไม้ระนาดแบบปากกา</strong> ทำให้มีความคล่องตัวใช้กับการบรรเลงประเภทเพลงลูกล้อลูกขัด เพลงประเภทสองไม้ หรือลูกรัวในการบรรเลงเพลงเดี่ยว อีกทั้งมีความเหมาะสมสำหรับการฝึกหัดเบื้องต้นในลักษณะการตีฉากเพื่อฝึกหัดให้เสียงระนาดชัดเจนและดังสม่ำเสมอกัน\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20308/12345_1_.jpg\" height=\"119\" width=\"261\" />\n</div>\n<p>\n  <br />\n         2. การจับแบบ &quot;ปากไก่&quot; ลักษณะคล้ายการจับแบบปากกาแต่แตกต่างที่ตรงนิ้วชี้คือ การจับไม้แบบปากไก่นิ้วชี้จะตกลงจากด้านบนของก้านไม้ระนาดโดยอยู่ด้านตรงข้ามกับนิ้วหัวแม่มือ ก้านไม้ตีติดอยู่ด้านข้างตำแหน่งประมาณ กกเล็บหรือโคนเล็บ<br />\n         <strong>ประโยชน์ของการจับไม้แบบปากไก่ </strong>ทำให้เกิดเสียงที่มีความสง่างามมีความภูมิฐานและนุ่มนวล การจับไม้แบบปากไก่เหมาะสมที่จะนำไปใช้ในการบรรเลงเพลงพิธี </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20308/1232_1_.jpg\" height=\"105\" width=\"256\" />\n</div>\n<p>\n  <br />\n         3. การจับแบบ &quot;ปากนกแก้ว&quot; ลักษณะคล้ายการจับแบบปากไก่แต่การจับแบบ ปากนกแก้วจะต้องให้ก้านไม้ระนาดติดอยู่ด้านข้างนิ้วชี้บริเวณเส้นข้อข้างบนของนิ้ว <br />\n<strong>         ประโยชน์ของการจับไม้แบบปากนกแก้ว </strong>ทำให้เสียงในการบรรเลงมีพลังอำ นาจกล่าวคือเสียงของระนาดเอกจะโตและลึก การจับแบบปากนกแก้วมีข้อเสียบาง ประการตรงที่ว่าเมื่อบรรเลงแล้วเสียงของระนาดจะไม่มีความไพเราะและกลมกล่อม เท่าที่ควร </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20308/1231_1_.jpg\" height=\"113\" width=\"272\" />\n</div>\n<p> <br />\n  <br />\n         เมื่อทราบถึงวิธีการจับไม้ระนาดแล้วแขนและข้อศอกควรปล่อยตามธรรมชาติ โดยยังเป็นเส้นตรงแนวเดียวกันกับก้านไม้ระนาดไม่ควรหนีบแขนและข้อศอกให้สนิท แนบลำตัวจนเกิดความเกร็งมากเกินไปเพราะกำลังจะหมดไปกับการหนีบแขนโดยไม่ ได้นำไปใช้ในการตีระนาด </p>\n<p>\nแหล่งข้อมูล  :  <a href=\"http://www.thaikids.com/ranad/chap5/fc5s2p1.htm\">http://www.thaikids.com/ranad/chap5/fc5s2p1.htm</a><br />\n \n</p>\n', created = 1716230363, expire = 1716316763, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3e728ea80b25fd536dd565f981f917d6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การจับไม้

 

การจับไม้

        การจับไม้ระนาดเอกที่ถูกวิธีมีส่วนช่วยทำให้การบรรเลงมีคุณภาพและเกิดความไพเราะ หลักการจับไม้ระนาดเอกที่ถูกต้องคือนิ้วทุกนิ้วจะต้องจับไม้ระนาดให้แน่นโดยมี ความยาวประมาณ 1 ในสามของก้านไม้ เมื่อเริ่มจับให้หงายฝ่ามือขึ้นให้ก้านไม้ระนาดวางพาดกระชับกับร่องกลางตรงข้อมือและเลยเข้าไปใต้แขนเล็กน้อย นิ้วชี้เหยียดหงายรองรับก้านไม้ระนาดไว้ นิ้วหัวแม่มือบีบกระชับด้านข้างของก้านไม้ นิ้วกลาง นิ้วนาง และ นิ้วก้อยรวบจับก้านไม้ระนาดไว้ให้แน่น

แหล่งที่มาภาพ  : http://nugranad.org/images/playranad3.jpg


         เมื่อจับก้านไม้ระนาดแน่นแล้ว ให้พลิกฝ่ามือและแขนคว่ำลงโดยไม่ต้องเกร็งกล้ามเนื้อ โดยให้ก้านไม้ระนาดยังคงอยู่ระหว่างตรงกลางร่องมือพอดี ข้อศอกและไหล่แนบกับลำตัวโดยให้แนวไม้ระนาดกับแขนของผู้บรรเลงเป็นแนวเส้นตรงเดียวกัน
 
การจับไม้ระนาดเอกแบ่งออกเป็น 3 แบบคือ
         1. การจับแบบ "ปากกา" คือการจับโดยให้ก้านไม้ระนาดแนบอยู่กลางร่องมือ ใช้นิ้วกลาง นิ้วนาง และ นิ้วก้อย รวบกำก้านไม้ระนาดให้นิ้วเรียงชิดติดกัน ส่วนนิ้วหัวแม่มือวางแนบขนานไปกับก้านไม้และปลายนิ้วชี้แตะอยู่บนก้านไม้ระนาดทำมุมประมาณ 45 องศา
         ประโยชน์ของการจับไม้ระนาดแบบปากกา ทำให้มีความคล่องตัวใช้กับการบรรเลงประเภทเพลงลูกล้อลูกขัด เพลงประเภทสองไม้ หรือลูกรัวในการบรรเลงเพลงเดี่ยว อีกทั้งมีความเหมาะสมสำหรับการฝึกหัดเบื้องต้นในลักษณะการตีฉากเพื่อฝึกหัดให้เสียงระนาดชัดเจนและดังสม่ำเสมอกัน

  
         2. การจับแบบ "ปากไก่" ลักษณะคล้ายการจับแบบปากกาแต่แตกต่างที่ตรงนิ้วชี้คือ การจับไม้แบบปากไก่นิ้วชี้จะตกลงจากด้านบนของก้านไม้ระนาดโดยอยู่ด้านตรงข้ามกับนิ้วหัวแม่มือ ก้านไม้ตีติดอยู่ด้านข้างตำแหน่งประมาณ กกเล็บหรือโคนเล็บ
         ประโยชน์ของการจับไม้แบบปากไก่ ทำให้เกิดเสียงที่มีความสง่างามมีความภูมิฐานและนุ่มนวล การจับไม้แบบปากไก่เหมาะสมที่จะนำไปใช้ในการบรรเลงเพลงพิธี

  
         3. การจับแบบ "ปากนกแก้ว" ลักษณะคล้ายการจับแบบปากไก่แต่การจับแบบ ปากนกแก้วจะต้องให้ก้านไม้ระนาดติดอยู่ด้านข้างนิ้วชี้บริเวณเส้นข้อข้างบนของนิ้ว
         ประโยชน์ของการจับไม้แบบปากนกแก้ว ทำให้เสียงในการบรรเลงมีพลังอำ นาจกล่าวคือเสียงของระนาดเอกจะโตและลึก การจับแบบปากนกแก้วมีข้อเสียบาง ประการตรงที่ว่าเมื่อบรรเลงแล้วเสียงของระนาดจะไม่มีความไพเราะและกลมกล่อม เท่าที่ควร

 
  
         เมื่อทราบถึงวิธีการจับไม้ระนาดแล้วแขนและข้อศอกควรปล่อยตามธรรมชาติ โดยยังเป็นเส้นตรงแนวเดียวกันกับก้านไม้ระนาดไม่ควรหนีบแขนและข้อศอกให้สนิท แนบลำตัวจนเกิดความเกร็งมากเกินไปเพราะกำลังจะหมดไปกับการหนีบแขนโดยไม่ ได้นำไปใช้ในการตีระนาด

แหล่งข้อมูล  :  http://www.thaikids.com/ranad/chap5/fc5s2p1.htm
 

สร้างโดย: 
นางณัฏฐกัญญา เดชชนาพรสิทธิ์ หัวหน้าทีม และ นส.สุรัตติกรณ์ สุวรรณพรหม นักเรียน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 272 คน กำลังออนไลน์