• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3f2375ae719542a38967f08093c67815' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>  <strong> ทิศทางการรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์ </strong></p>\n<p>\nเมื่อทศวรรษ 1990 มีบางประเทศในยุโรปได้ออกกฎหมายห้ามนำขยะอิเล็กทรอนิกส์ไปถม\n</p>\n<p>\nในที่ดิน และก่อให้เกิดอุตสาหกรรมจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ขึ้นในยุโรป ครั้นเมื่อต้นปี 2003 สหภาพยุโรป หรืออียู ก็ได้เสนอระเบียบ\n</p>\n<p>\nWEEE และ RoHS สำหรับการใช้ควบคุมในปี 2005 และ 2006 บางรัฐในสหรัฐอเมริกาได้ปรับปรุงนโยบายห้ามใช้จอ CRT ไปถมที่ดิน\n</p>\n<p>\nการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์บางอย่างดำเนินการในสหรัฐอเมริกา กระบวนการนี้อาจเป็นการรื้อถอดชิ้นส่วนเป็นโลหะ พลาสติก และแผ่น\n</p>\n<p>\nวงจร หรือชำแหละเป็นชิ้นส่วนเล็กๆ น้อยๆ นับตั้งแต่ปี 2004 เป็นต้นมารัฐแคลิฟอร์เนียได้เริ่มใช้ค่าธรรมเนียมการรีไซเคิลขยะ\n</p>\n<p>\n          อิเล็กทรอนิกส์กับโทรทัศน์และมอนิเตอร์ใหม่ทุกรุ่นที่จำหน่ายไป เพื่อให้ครอบคลุมต้นทุนการรีไซเคิลด้วย สำหรับอัตราค่าธรรมเนียมนั้นขึ้น\n</p>\n<p>\nอยู่กับขนาดของจอมอนิเตอร์นั่นเอง อัตราดังกล่าวยังมีการปรับปรุงเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2005 เพื่อให้สอดคล้องกับต้นทุนการรีไซเคิลที่\n</p>\n<p>\nแท้จริง โรงงานรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์โดยทั่วไปที่พบในประเทศอุตสาหกรรมบางประเทศนั้นอาศัยการถอดชิ้นส่วนอุปกรณ์ออกมา\n</p>\n<p>\nก่อน ซึ่งมีกำลังทำงานเพิ่มขึ้นสำหรับขยะอิเล็กทรอนิกส์จำนวนมาก โดยใช้ต้นทุนที่มีประสิทธิภาพ วัสดุที่ถูกป้อนเข้าเครื่องกำจัดขยะ ซึ่ง\n</p>\n<p>\nจะผ่านไปตามสายพาน จะถูกส่งไปยังเครื่องคัดแยกเชิงกล และมีเครื่องคัดกรองอีกหลายชั้น เครื่องจักรรีไซเคิลทั้งหมดจะถูกปิดคลุมและ\n</p>\n<p>\nใช้ระบบกักฝุ่น ปัจจุบันนี้ สหภาพยุโรป เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น รวมทั้งไต้หวัน ต่างก็กำหนดให้ผู้ขายและผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีส่วนรับผิด\n</p>\n<p>\nชอบในการรีไซเคิลขยะจากผลิตภัณฑ์ของตนถึงร้อยละ 75% ของจำนวนทั้งหมดที่ผลิตหรือขาย หลายประเทศในเอเชีย ก็เริ่มตื่นตัวใน\n</p>\n<p>\nเรื่องการรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์กันแล้ว บางประเทศได้ออกกฎหมายเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าวอย่างชัดเจน ขณะที่บางประเทศก็อยู่\n</p>\n<p>\nระหว่างการศึกษา เพื่อหาแนวทางแก้ไขอันเป็นมาตรการที่เหมาะสมที่สุด ทั้งในส่วนของการประหยัดและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด หรือ\n</p>\n<p>\nเสนอร่างให้แก่สภานิติบัญญัติ ส่วนในสหรัฐอเมริกา สภาคองเกรสอยู่ระหว่างการพิจารณากฎหมายขยะอิเล็กทรอนิกส์ ในจำนวนนี้ มี\n</p>\n<p>\nกฎหมายรีไซเคิลคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Computer Recycling Act)ที่เสนอโดย วุฒิสมาชิกไมค์ ทอมป์สัน (Mike\n</p>\n<p>\nThompson) (D-CA) รวมอยู่ด้วย ขณะที่หลายรัฐของเมริกาก็ได้เสนอและผ่านร่างกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์แล้ว\n</p>\n<p>\nเช่นกัน ทั้งนี้ แคลิฟอร์เนียนับเป็นรัฐแรกที่เสนอกฎหมายดังกล่าว ตามมาด้วยรัฐแมรีแลนด์ รัฐเมน รัฐวอชิงตัน และรัฐมินเนสโซตา\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p>\nเดิมนั้น การใช้ผลผลิตจากอุตสาหกรรมเป็นไปอย่างไม่มีแบบแผน ผลิตภัณฑ์ที่เลิกใช้จะถูกทิ้งรวมกับขยะอื่นๆ ซึ่งมีข่าวให้ได้ยินอยู่เนืองๆ\n</p>\n<p>\nทั้งขยะพิษ ขยะกัมมันตรังสี และขยะที่อันตรายที่ระเบิดได้ ก็เคยเกิดขึ้นมาแล้วทั้งสิ้น สำหรับขยะพิษจากสารเคมี หรือโลหะหนักอันตราย\n</p>\n<p>\nนั้นจะต้องกำจัดด้วยวิธีพิเศษ เมื่อเร็วๆ นี้มีการรณรงค์กำจัดแบตเตอรี่โทรศัพท์มือถือ แต่เมื่อนานวันเข้า ก็หลงๆ ลืมๆ กันไป ส่วนการกำจัด\n</p>\n<p>\nขยะอื่น เช่น หลอดไฟฟลูออเรสเซนส์ ก็เคยมีการรณรงค์ก่อนหน้านี้ แต่ไม่ได้รับความร่วมมือ หรือการรณรงค์อย่างต่อเนื่อง ทำให้การแยก\n</p>\n<p>\nขยะทำได้ยาก หรือแทบไม่ได้ทำ แนวทางการแก้ปัญหานั้น ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่าย โดยเฉพาะผู้ผลิตและและจำหน่าย\n</p>\n<p>\nผลิตภัณฑ์ ซึ่งมีเทคโนโลยีที่ก้าวล้ำหน้าอยู่แล้ว ย่อมรู้มาตรการและขั้นตอนการกำจัดขยะเหล่านี้เป็นอย่างดี แต่เมื่อรัฐบาลบางประเทศไม่\n</p>\n<p>\nมีมาตรการป้องกัน หรือระเบียบที่รัดกุม ผู้ผลิตก็อาจละเลย เพราะการมีขั้นตอนเพิ่มสำหรับการกำจัดขยะ ย่อมเป็นการเพิ่มต้นทุนไม่มากก็\n</p>\n<p>\nน้อย ในส่วนของผู้ใช้ หากมีสถานที่รองรับขยะที่ชัดเจน ก็ควรให้ความสำคัญกับปัญหาเหล่านี้ให้มากขึ้น อย่างไรก็ตาม การมีตัวอย่างที่\n</p>\n<p>\nเลวร้าย เป็นกรณีศึกษาและเป็นภาพเตือนใจที่ดี ทำให้สังคมตระหนักถึงปัญหาเหล่านี้มากขึ้น หากร้านค้า หรือจุดจำหน่ายสินค้า มีภาชนะ\n</p>\n<p>\nสำหรับรับทิ้งขยะจากผลิตภัณฑ์ของตน ก็สามารถช่วยลดปัญหาดังกล่าวได้มาก และหากขยายขั้นตอนโดยเพิ่มความร่วมมือในหมู่ผู้ผลิต\n</p>\n<p>\nหลายๆ ราย ผู้ใช้สามารถทิ้งขยะหลายชนิดในจุดเดียว เพิ่มความสะดวก และน่าจะได้รับความร่วมมือมากขึ้นด้วย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715517885, expire = 1715604285, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3f2375ae719542a38967f08093c67815' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:748282e595eb51082c6c65e81badd206' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>  <strong> ทิศทางการรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์ </strong></p>\n<p>\nเมื่อทศวรรษ 1990 มีบางประเทศในยุโรปได้ออกกฎหมายห้ามนำขยะอิเล็กทรอนิกส์ไปถม\n</p>\n<p>\nในที่ดิน และก่อให้เกิดอุตสาหกรรมจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ขึ้นในยุโรป ครั้นเมื่อต้นปี 2003 สหภาพยุโรป หรืออียู ก็ได้เสนอระเบียบ\n</p>\n<p>\nWEEE และ RoHS สำหรับการใช้ควบคุมในปี 2005 และ 2006 บางรัฐในสหรัฐอเมริกาได้ปรับปรุงนโยบายห้ามใช้จอ CRT ไปถมที่ดิน\n</p>\n<p>\nการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์บางอย่างดำเนินการในสหรัฐอเมริกา กระบวนการนี้อาจเป็นการรื้อถอดชิ้นส่วนเป็นโลหะ พลาสติก และแผ่น\n</p>\n<p>\nวงจร หรือชำแหละเป็นชิ้นส่วนเล็กๆ น้อยๆ นับตั้งแต่ปี 2004 เป็นต้นมารัฐแคลิฟอร์เนียได้เริ่มใช้ค่าธรรมเนียมการรีไซเคิลขยะ\n</p>\n<p>\n          อิเล็กทรอนิกส์กับโทรทัศน์และมอนิเตอร์ใหม่ทุกรุ่นที่จำหน่ายไป เพื่อให้ครอบคลุมต้นทุนการรีไซเคิลด้วย สำหรับอัตราค่าธรรมเนียมนั้นขึ้น\n</p>\n<p>\nอยู่กับขนาดของจอมอนิเตอร์นั่นเอง อัตราดังกล่าวยังมีการปรับปรุงเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2005 เพื่อให้สอดคล้องกับต้นทุนการรีไซเคิลที่\n</p>\n<p>\nแท้จริง โรงงานรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์โดยทั่วไปที่พบในประเทศอุตสาหกรรมบางประเทศนั้นอาศัยการถอดชิ้นส่วนอุปกรณ์ออกมา\n</p>\n<p>\nก่อน ซึ่งมีกำลังทำงานเพิ่มขึ้นสำหรับขยะอิเล็กทรอนิกส์จำนวนมาก โดยใช้ต้นทุนที่มีประสิทธิภาพ วัสดุที่ถูกป้อนเข้าเครื่องกำจัดขยะ ซึ่ง\n</p>\n<p>\nจะผ่านไปตามสายพาน จะถูกส่งไปยังเครื่องคัดแยกเชิงกล และมีเครื่องคัดกรองอีกหลายชั้น เครื่องจักรรีไซเคิลทั้งหมดจะถูกปิดคลุมและ\n</p>\n<p>\nใช้ระบบกักฝุ่น ปัจจุบันนี้ สหภาพยุโรป เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น รวมทั้งไต้หวัน ต่างก็กำหนดให้ผู้ขายและผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีส่วนรับผิด\n</p>\n<p>\nชอบในการรีไซเคิลขยะจากผลิตภัณฑ์ของตนถึงร้อยละ 75% ของจำนวนทั้งหมดที่ผลิตหรือขาย หลายประเทศในเอเชีย ก็เริ่มตื่นตัวใน\n</p>\n<p>\nเรื่องการรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์กันแล้ว บางประเทศได้ออกกฎหมายเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าวอย่างชัดเจน ขณะที่บางประเทศก็อยู่\n</p>\n<p>\nระหว่างการศึกษา เพื่อหาแนวทางแก้ไขอันเป็นมาตรการที่เหมาะสมที่สุด ทั้งในส่วนของการประหยัดและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด หรือ\n</p>\n<p>\nเสนอร่างให้แก่สภานิติบัญญัติ ส่วนในสหรัฐอเมริกา สภาคองเกรสอยู่ระหว่างการพิจารณากฎหมายขยะอิเล็กทรอนิกส์ ในจำนวนนี้ มี\n</p>\n<p>\nกฎหมายรีไซเคิลคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Computer Recycling Act)ที่เสนอโดย วุฒิสมาชิกไมค์ ทอมป์สัน (Mike\n</p>\n<p>\nThompson) (D-CA) รวมอยู่ด้วย ขณะที่หลายรัฐของเมริกาก็ได้เสนอและผ่านร่างกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์แล้ว\n</p>\n<p>\nเช่นกัน ทั้งนี้ แคลิฟอร์เนียนับเป็นรัฐแรกที่เสนอกฎหมายดังกล่าว ตามมาด้วยรัฐแมรีแลนด์ รัฐเมน รัฐวอชิงตัน และรัฐมินเนสโซตา\n</p>\n<p></p>', created = 1715517885, expire = 1715604285, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:748282e595eb51082c6c65e81badd206' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ทิศทางการรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์

   ทิศทางการรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์

เมื่อทศวรรษ 1990 มีบางประเทศในยุโรปได้ออกกฎหมายห้ามนำขยะอิเล็กทรอนิกส์ไปถม

ในที่ดิน และก่อให้เกิดอุตสาหกรรมจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ขึ้นในยุโรป ครั้นเมื่อต้นปี 2003 สหภาพยุโรป หรืออียู ก็ได้เสนอระเบียบ

WEEE และ RoHS สำหรับการใช้ควบคุมในปี 2005 และ 2006 บางรัฐในสหรัฐอเมริกาได้ปรับปรุงนโยบายห้ามใช้จอ CRT ไปถมที่ดิน

การจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์บางอย่างดำเนินการในสหรัฐอเมริกา กระบวนการนี้อาจเป็นการรื้อถอดชิ้นส่วนเป็นโลหะ พลาสติก และแผ่น

วงจร หรือชำแหละเป็นชิ้นส่วนเล็กๆ น้อยๆ นับตั้งแต่ปี 2004 เป็นต้นมารัฐแคลิฟอร์เนียได้เริ่มใช้ค่าธรรมเนียมการรีไซเคิลขยะ

          อิเล็กทรอนิกส์กับโทรทัศน์และมอนิเตอร์ใหม่ทุกรุ่นที่จำหน่ายไป เพื่อให้ครอบคลุมต้นทุนการรีไซเคิลด้วย สำหรับอัตราค่าธรรมเนียมนั้นขึ้น

อยู่กับขนาดของจอมอนิเตอร์นั่นเอง อัตราดังกล่าวยังมีการปรับปรุงเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2005 เพื่อให้สอดคล้องกับต้นทุนการรีไซเคิลที่

แท้จริง โรงงานรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์โดยทั่วไปที่พบในประเทศอุตสาหกรรมบางประเทศนั้นอาศัยการถอดชิ้นส่วนอุปกรณ์ออกมา

ก่อน ซึ่งมีกำลังทำงานเพิ่มขึ้นสำหรับขยะอิเล็กทรอนิกส์จำนวนมาก โดยใช้ต้นทุนที่มีประสิทธิภาพ วัสดุที่ถูกป้อนเข้าเครื่องกำจัดขยะ ซึ่ง

จะผ่านไปตามสายพาน จะถูกส่งไปยังเครื่องคัดแยกเชิงกล และมีเครื่องคัดกรองอีกหลายชั้น เครื่องจักรรีไซเคิลทั้งหมดจะถูกปิดคลุมและ

ใช้ระบบกักฝุ่น ปัจจุบันนี้ สหภาพยุโรป เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น รวมทั้งไต้หวัน ต่างก็กำหนดให้ผู้ขายและผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีส่วนรับผิด

ชอบในการรีไซเคิลขยะจากผลิตภัณฑ์ของตนถึงร้อยละ 75% ของจำนวนทั้งหมดที่ผลิตหรือขาย หลายประเทศในเอเชีย ก็เริ่มตื่นตัวใน

เรื่องการรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์กันแล้ว บางประเทศได้ออกกฎหมายเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าวอย่างชัดเจน ขณะที่บางประเทศก็อยู่

ระหว่างการศึกษา เพื่อหาแนวทางแก้ไขอันเป็นมาตรการที่เหมาะสมที่สุด ทั้งในส่วนของการประหยัดและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด หรือ

เสนอร่างให้แก่สภานิติบัญญัติ ส่วนในสหรัฐอเมริกา สภาคองเกรสอยู่ระหว่างการพิจารณากฎหมายขยะอิเล็กทรอนิกส์ ในจำนวนนี้ มี

กฎหมายรีไซเคิลคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Computer Recycling Act)ที่เสนอโดย วุฒิสมาชิกไมค์ ทอมป์สัน (Mike

Thompson) (D-CA) รวมอยู่ด้วย ขณะที่หลายรัฐของเมริกาก็ได้เสนอและผ่านร่างกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์แล้ว

เช่นกัน ทั้งนี้ แคลิฟอร์เนียนับเป็นรัฐแรกที่เสนอกฎหมายดังกล่าว ตามมาด้วยรัฐแมรีแลนด์ รัฐเมน รัฐวอชิงตัน และรัฐมินเนสโซตา

สร้างโดย: 
นางสาวธิติญา ธำรงวัฒนา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 342 คน กำลังออนไลน์