• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.15.150.59', 0, '29b185d53890a009e369f88ce39f972a', 150, 1716161310) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:04c0fac568f6bdb51eb4597aabb44e20' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"> <strong> ฉันทลักษณ์</strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff00ff\">ฉันท์ลักษณ์ </span>คือลักษณะถ้อยคำที่กวีได้ร้อยกรองขึ้นให้เกิดความไพเราะซาบซึ้ง โดยจะกำหนดคณะ ครุลหุ และสัมผัสไว้เป็นมาตราฐาน ฉันท์นี้ไทยได้รับการถ่ายแบบมาจากอินเดีย ของเดิมแต่งเป็นภาษาบาลี หรือ สันสกฤต โดยเฉพาะในภาษาบาลีเขามีตำราที่กล่าวถึงวิธีแต่งฉันท์ไว้เป็นแบบฉบับ เรียกชื่อว่า &quot; คัมภีร์วุตโตทัย &quot; แล้วต่อมาไทยเราได้จำลองแบบมาแต่งเป็นภาษาไทยโดยเพิ่มเติมบังคับและสัมผัสขึ้น เพื่อให้เกิดความไพเราะตามแบบฉบับนิยมของไทย ซึ่งในภาษาเดิมเขาไม่มี <br />\nฉันท์ในภาษาบาลีแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ ฉันท์วรรณพฤติ กับ ฉันท์มาตราพฤติ ฉันท์ใดกำหนดด้วยตัวอักษร คือวางคณะและกำหนดเสียงหนักเสียงเบา ที่เรียกว่า ครุและลหุ เป็นสำคัญ ฉันท์นั้นเรียกว่าเป็น &quot; ฉันท์วรรณพฤติ &quot; หากฉันท์ใดกำหนดด้วยมาตราคือวางจังหวะเสียงสั้นยาวของมาตราเสียงเป็นสำคัญ นับคำลหุ เป็น ๑ มาตรา คำครุ เป็น ๒ มาตรา ไมกำหนดตัวอักษรเหมือนอย่างในวรรณพฤติ ฉันท์นั้นจะเรียกว่า &quot; ฉันท์มาตราพฤติ &quot; <br />\nฉันท์มีชื่อต่าง ๆ ตามที่ปรากฎในคัมภีร์วุตโตทัยมีถึง ๑๐๘ ฉันท์ แต่ไทยเราดัดแปลงเอามาใช้ไม่หมด เลือเอามาแต่ที่เห็นว่าไพเราะ มีทำนองการอ่านที่สละสลวยเหมาะแก่การบรรจุคำในภาษาไทยได้ดีเท่านั้น <br />\nฉันท์ที่นิยมแต่งกันมากในภาษาไทยจะเป็นวรรณพฤติเป็นพื้น ที่เป็นมาตราพฤติไม่ใคร่จะนิยมใช้นำมาแต่ง เพราะจังหวะและทำนองที่ใช้อ่านในภาษาไทยไม่สู้จะไพเราะเหมือนวรรณพฤติ แม้ฉันท์วรรณพฤติที่ท่านแปลงมาเป็นภาษาไทยแล้ว ก็ไม่นิยมที่จะนำมาทั้งหมดเพื่อแต่งเป็นฉันท์ไทย เท่าที่สังเกตุดูในคำฉันท์เก่า ๆ มักจะนิยมแต่งกันอยู่เพียง ๖ ฉันท์เท่านั้น</strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n', created = 1716161320, expire = 1716247720, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:04c0fac568f6bdb51eb4597aabb44e20' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฉันทลักษณ์

  ฉันทลักษณ์

ฉันท์ลักษณ์ คือลักษณะถ้อยคำที่กวีได้ร้อยกรองขึ้นให้เกิดความไพเราะซาบซึ้ง โดยจะกำหนดคณะ ครุลหุ และสัมผัสไว้เป็นมาตราฐาน ฉันท์นี้ไทยได้รับการถ่ายแบบมาจากอินเดีย ของเดิมแต่งเป็นภาษาบาลี หรือ สันสกฤต โดยเฉพาะในภาษาบาลีเขามีตำราที่กล่าวถึงวิธีแต่งฉันท์ไว้เป็นแบบฉบับ เรียกชื่อว่า " คัมภีร์วุตโตทัย " แล้วต่อมาไทยเราได้จำลองแบบมาแต่งเป็นภาษาไทยโดยเพิ่มเติมบังคับและสัมผัสขึ้น เพื่อให้เกิดความไพเราะตามแบบฉบับนิยมของไทย ซึ่งในภาษาเดิมเขาไม่มี
ฉันท์ในภาษาบาลีแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ ฉันท์วรรณพฤติ กับ ฉันท์มาตราพฤติ ฉันท์ใดกำหนดด้วยตัวอักษร คือวางคณะและกำหนดเสียงหนักเสียงเบา ที่เรียกว่า ครุและลหุ เป็นสำคัญ ฉันท์นั้นเรียกว่าเป็น " ฉันท์วรรณพฤติ " หากฉันท์ใดกำหนดด้วยมาตราคือวางจังหวะเสียงสั้นยาวของมาตราเสียงเป็นสำคัญ นับคำลหุ เป็น ๑ มาตรา คำครุ เป็น ๒ มาตรา ไมกำหนดตัวอักษรเหมือนอย่างในวรรณพฤติ ฉันท์นั้นจะเรียกว่า " ฉันท์มาตราพฤติ "
ฉันท์มีชื่อต่าง ๆ ตามที่ปรากฎในคัมภีร์วุตโตทัยมีถึง ๑๐๘ ฉันท์ แต่ไทยเราดัดแปลงเอามาใช้ไม่หมด เลือเอามาแต่ที่เห็นว่าไพเราะ มีทำนองการอ่านที่สละสลวยเหมาะแก่การบรรจุคำในภาษาไทยได้ดีเท่านั้น
ฉันท์ที่นิยมแต่งกันมากในภาษาไทยจะเป็นวรรณพฤติเป็นพื้น ที่เป็นมาตราพฤติไม่ใคร่จะนิยมใช้นำมาแต่ง เพราะจังหวะและทำนองที่ใช้อ่านในภาษาไทยไม่สู้จะไพเราะเหมือนวรรณพฤติ แม้ฉันท์วรรณพฤติที่ท่านแปลงมาเป็นภาษาไทยแล้ว ก็ไม่นิยมที่จะนำมาทั้งหมดเพื่อแต่งเป็นฉันท์ไทย เท่าที่สังเกตุดูในคำฉันท์เก่า ๆ มักจะนิยมแต่งกันอยู่เพียง ๖ ฉันท์เท่านั้น


 

สร้างโดย: 
น.ส. วัชราภรณ์ เรืองประชา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 315 คน กำลังออนไลน์