• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9d0cfce9f55ed33e2b27190c984e6523' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><i><u><span style=\"font-size: 24pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #800000\">ไขสันหลัง</span></span></u></i></b><b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b><span> </span><span></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<br />\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"><span lang=\"TH\">ภาพตัดขวางของกระดูกสันหลังและไขสันหลัง<br />\n</span>(SECTION OF VERTEBRAL COLUMN AND SPINAL CORD)</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"347\" src=\"http://upic.me/i/xc/clip_image009.jpg\" height=\"271\" /></strong>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span><strong><span style=\"color: #ff99cc\">ส่วนหนึ่งของไขสันหลังและเส้นประสาทไขสันหลัง<br />\n(PORTION OF SPINAL CORD WITH SPINAL NERVES)</span></strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><strong></strong></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"398\" src=\"http://upic.me/i/ih/clip_image0010.jpg\" height=\"358\" />\n</div>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><strong> </strong></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span><strong><span style=\"color: #ff99cc\"><u>ไขสันหลังมี 2 <span lang=\"TH\">ชั้น คือ</span></u></span><br />\n</strong></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #33cccc\">1. <span lang=\"TH\">เนื้อสีเทาชั้นใน รูปร่างเป็น </span>H <span lang=\"TH\">คล้ายผีกางปีก มีตัวเซลล์ประสาทอยู่มากมาย จึงเห็นเป็นสีเทา</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">เนื้อสีขาวชั้นนอก เป็นที่อยู่ของเส้นประสาทที่มีเยื่อไมอีลิน หุ้มจึงเห็นเป็นสีขาวตอนกลางไขสันหลังมีหลอดกลวงที่ติดต่อกับสมองเรียกว่า  (</span> central canal ) <span lang=\"TH\">ไขสันหลังมีเส้นประสาทแยกออกมา เรียกว่า เส้นประสาทไขสันหลัง ตรงโคนของเส้นประสาทตอนที่ติดกับไขสันหลังจะแตกออกเป็น </span>2 <span lang=\"TH\">ราก คือ รากบน  (  </span>dorsal  root )  <span lang=\"TH\">และรากล่าง ( </span>ventral  root )<o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<strong>           </strong></span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #33cccc\"><span><strong>รากบน</strong> มีปมประสาทอยู่ใกล้ ๆ ไขสันหลัง ในปมประสาทมีตัวเซลล์ของเซลล์ประสาทรับความรู้สึก โดยมีใยข้างหนึ่งอยู่ในเส้นประสาทไขสันหลัง ( รับกระแสความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึก ) ส่วนใยประสาทอีกข้างหนึ่งจะอยู่ในรากบน โดยยื่นเข้าไปในเข้าไปในไขสันหลัง</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<br />\n<span style=\"color: #33cccc\">           <span><strong>รากล่าง</strong> ประกอบด้วย ใยประสาทประสาทที่ยื่นออกจากตัวเซลล์ประสาทนำคำสั่ง ซึ่งอยู่ในไขสันหลัง เพื่อนำกระแสความรู้สึกไปยังหน่วยปฏิบัติ( กล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ ) นอกจากนี้ยังมีเซลล์ประสาทประสานงาน ทำหน้าที่เชื่อมโยงกระแสรับความรูสึกกับเซลล์อื่นๆ เช่น เซลล์ในสมอง หรือเซลล์ในไขสันหลัง</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span></span>\n</p>\n<p><span></span><o:p></o:p></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"344\" src=\"http://upic.me/i/c6/clip_image0011.jpg\" height=\"681\" />\n</div>\n<p></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><o:p></o:p></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff99cc\">ภาพแสดงไขสันหลังและเส้นประสาทไขสันหลัง </span></span></b>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span>  </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">        <span style=\"color: #33cccc\"><span lang=\"TH\">ไขสันหลังเป็นส่วนที่อยู่ภายในกระดูกสันหลัง อยู่ถัดจาดสมองส่วนท้ายตั้งแต่กระดูกสันหลังข้อแรกจนถึงกระดูกยั้นเอวข้อที่ </span>2 <span lang=\"TH\">มีลักษณะเป็นหลอดกลวงภายในมีของเหลวบรรจุอยู่เต็มและหลอดนี้จะติดต่อกับช่องว่างภายในสมองด้วยเชื่อกันว่าของเหลวมีส่วนสำคัญในการช่วยป้องกันกระทบกระเทือนของสมองและช่วยให้มีการรับและส่งกระแสความรู้ศึกได้ดีขึ้น การเจาะไขสันหลังหรือฉีดยาเข้าบริเวณต่ำกว่ากระดูกบั้นเอวข้อที่  </span>2 <span lang=\"TH\">ลงไปเพราะโอกาสที่ทำอันตรายต่อเนื้อไขสันหลังมีน้อยกว่าบริเวณอื่น </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #33cccc\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #33cccc\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"550\" src=\"http://upic.me/i/rf/clip_image0012.jpg\" height=\"159\" /> \n</div>\n<p>\n<b><u><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff99cc\">หน้าที่ของไขสันหลัง</span></span></u></b>\n</p>\n<p><b><u><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff99cc\"></span></span></u></b><b><u><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff99cc\"></span></span></u></b><b><u><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></u></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #33cccc\">1. <span lang=\"TH\">เป็นศูนย์เชื่อมระหว่างหน่วยรับความรู้สึก ( </span>receptor ) <span lang=\"TH\">และหน่วยปฏิบัติงาน (</span> effector )<br />\n2. <span lang=\"TH\">เป็นทางผ่านของกระแสประสาทหรือกระแสความรู้สึก ( </span>nerve  impulse ) <span lang=\"TH\">ระหว่างไขสันหลังและสมอง</span><br />\n3.  <span lang=\"TH\">เป็นศูนย์กลางของการเคลื่อนไหว เช่น </span>simple  reflex  <span lang=\"TH\">ต่างๆ</span></span><o:p></o:p></span><o:p></o:p> </p>\n', created = 1727757930, expire = 1727844330, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9d0cfce9f55ed33e2b27190c984e6523' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไขสันหลัง

ไขสันหลัง


ภาพตัดขวางของกระดูกสันหลังและไขสันหลัง
(SECTION OF VERTEBRAL COLUMN AND SPINAL CORD)

ส่วนหนึ่งของไขสันหลังและเส้นประสาทไขสันหลัง
(PORTION OF SPINAL CORD WITH SPINAL NERVES)

 ไขสันหลังมี 2 ชั้น คือ
1. เนื้อสีเทาชั้นใน รูปร่างเป็น H คล้ายผีกางปีก มีตัวเซลล์ประสาทอยู่มากมาย จึงเห็นเป็นสีเทา
2. เนื้อสีขาวชั้นนอก เป็นที่อยู่ของเส้นประสาทที่มีเยื่อไมอีลิน หุ้มจึงเห็นเป็นสีขาวตอนกลางไขสันหลังมีหลอดกลวงที่ติดต่อกับสมองเรียกว่า  ( central canal ) ไขสันหลังมีเส้นประสาทแยกออกมา เรียกว่า เส้นประสาทไขสันหลัง ตรงโคนของเส้นประสาทตอนที่ติดกับไขสันหลังจะแตกออกเป็น 2 ราก คือ รากบน  (  dorsal  root )  และรากล่าง ( ventral  root )

           
รากบน มีปมประสาทอยู่ใกล้ ๆ ไขสันหลัง ในปมประสาทมีตัวเซลล์ของเซลล์ประสาทรับความรู้สึก โดยมีใยข้างหนึ่งอยู่ในเส้นประสาทไขสันหลัง ( รับกระแสความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึก ) ส่วนใยประสาทอีกข้างหนึ่งจะอยู่ในรากบน โดยยื่นเข้าไปในเข้าไปในไขสันหลัง


           รากล่าง ประกอบด้วย ใยประสาทประสาทที่ยื่นออกจากตัวเซลล์ประสาทนำคำสั่ง ซึ่งอยู่ในไขสันหลัง เพื่อนำกระแสความรู้สึกไปยังหน่วยปฏิบัติ( กล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ ) นอกจากนี้ยังมีเซลล์ประสาทประสานงาน ทำหน้าที่เชื่อมโยงกระแสรับความรูสึกกับเซลล์อื่นๆ เช่น เซลล์ในสมอง หรือเซลล์ในไขสันหลัง

 

 

ภาพแสดงไขสันหลังและเส้นประสาทไขสันหลัง

 

        ไขสันหลังเป็นส่วนที่อยู่ภายในกระดูกสันหลัง อยู่ถัดจาดสมองส่วนท้ายตั้งแต่กระดูกสันหลังข้อแรกจนถึงกระดูกยั้นเอวข้อที่ 2 มีลักษณะเป็นหลอดกลวงภายในมีของเหลวบรรจุอยู่เต็มและหลอดนี้จะติดต่อกับช่องว่างภายในสมองด้วยเชื่อกันว่าของเหลวมีส่วนสำคัญในการช่วยป้องกันกระทบกระเทือนของสมองและช่วยให้มีการรับและส่งกระแสความรู้ศึกได้ดีขึ้น การเจาะไขสันหลังหรือฉีดยาเข้าบริเวณต่ำกว่ากระดูกบั้นเอวข้อที่  2 ลงไปเพราะโอกาสที่ทำอันตรายต่อเนื้อไขสันหลังมีน้อยกว่าบริเวณอื่น

 

หน้าที่ของไขสันหลัง

1. เป็นศูนย์เชื่อมระหว่างหน่วยรับความรู้สึก ( receptor ) และหน่วยปฏิบัติงาน ( effector )
2. เป็นทางผ่านของกระแสประสาทหรือกระแสความรู้สึก ( nerve  impulse ) ระหว่างไขสันหลังและสมอง
3.  เป็นศูนย์กลางของการเคลื่อนไหว เช่น simple  reflex  ต่างๆ

สร้างโดย: 
นายอมรเทพ ทัศนา นางสาวชยุดา ดีนาน นางสาวเบญจวรรณ เจริญปฐมตระกูล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 416 คน กำลังออนไลน์