• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7dacfb996c93c9ffd80cd4021b036e41' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">ไตรกลีเซอไรด์(</span></b><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Cordia New\'\">Triglyceride)</span></b></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span></b></span>  </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">เป็นไขมันอีกชนิดหนึ่งที่ไม่ใช่ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\">Cholesterol <span lang=\"TH\">แต่ก็มีความสำคัญเช่นกัน พบว่ามีความสัมพันธ์กับโรค หัวใจขาดเลือด แต่ความสัมพันธ์นี้อาจไม่ &quot;แรง&quot; หรือ</span> &quot;<span lang=\"TH\">ชัดเจน&quot; เหมือน </span>cholesterol <span lang=\"TH\">นัก พบได้บ่อย มากในผู้ที่อ้วน เบาหวาน ดื่มสุราประจำ หรือมีโรคบางชนิดอยู่ด้วย ไตรกลีเซอไรด์ ประกอบด้วยกรีเซอรีน </span>1 <span lang=\"TH\">โมเลกุล และกรดไขมัน</span> 3 <span lang=\"TH\">โมเลกุล ซึ่งอาจเป็นกรดไขมันชนิดเดียวกันหรือต่างกันได้ ไขมันมีหลายชนิด แล้วแต่ชนิดของกรดไขมันที่เป็นส่วนประกอบ กรดไขมันมีอยู่ </span>2 <span lang=\"TH\">ชนิด</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span>  </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">1. <u>กรดไขมันอิ่มตัว (</u></span><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\">Saturated fatty acids)</span></u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\"> <span lang=\"TH\">หมายถึง กรดไขมันที่คาร์บอนทุกตัวในโมเลกุลไม่สามารถจับกับไฮโดรเจนเพิ่มได้และไม่สามารถจะจับกับสารใดๆ ได้อีก ไขมันอิ่มตัวมักได้มาจากสัตว์ ซึ่งมีลักษณะแข็งตัวได้แม้ในอุณหภูมิปกติ เช่น เนยแข็ง <span> </span>น้ำมันหมู ช็อคโกแลต <span>  </span>ทำให้ระดับโคเลสเตอรอลและแอล ดี แอล โคเลสเตอรอล ในเลือดเพิ่มขึ้น และลดเอช ดี แอล โคเลสเตอรอลในเลือดลง </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span>  </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">2.<u>กรดไขมันไม่อิ่มตัว</u></span><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\"> (Unsaturated fatty acids)</span></u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\"> <span lang=\"TH\">หมายถึง กรดไขมันที่คาร์บอนในโมเลกุลสามารถเกาะกับไฮโดรเจนเพิ่มขึ้นได้ กรดไขมันไม่อิ่มตัวแบ่งออกได้เป็น </span>2 <span lang=\"TH\">ชนิด คือ</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span>  </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">2.1)กรดไขมันไม่อิ่มตัวตำแหน่งเดียว มีมากในน้ำมันมะกอก น้ำมันคาโนลา น้ำมันรำ น้ำมันถั่วลิสง และถั่วเปลือกแข็งบางชนิด ช่วยลดระดับโคเลสเตอรอลและแอล ดี แอล โคเลสเตอรอล </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">2.2)กรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายตำแหน่ง กรดไขมันชนิดนี้สำคัญต่อร่างกายมาก ช่วยในการทำงานของอวัยวะสำคัญในร่างกาย มี ลักษณะเหลวแม้ในอุณหภูมิต่ำ ส่วนใหญ่ได้จากพืชและสัตว์น้ำบางชนิด เช่น น้ำมันทานตะวัน น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันข้าวโพด น้ำมันเหล่านี้มีกรดไลโนเลอิกซึ่งช่วยลดโคเลสเตอรอลและแอล ดี แอล โคเลสเตอรอลในเลือด แม้โคเลสเตอรอล จะไม่สูงแต่ถ้าไตรกลีเซอไรด์สูงก็จะทำให้มีความเสี่ยง โรคหัวใจขาดเลือด อัมพฤกษ์อัมพาต นอกจากนี้ระดับไตรกลีเซอไรด์ที่สูงมากๆ อาจจะทำให้เกิดโรคตับอ่อนอักเสบซึ่งอาจร้ายแรงถึงเสียชีวิตได้</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/51021\">หน้าถัดไป&gt;&gt;&gt;</a>\n</p>\n', created = 1727750484, expire = 1727836884, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7dacfb996c93c9ffd80cd4021b036e41' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไตรกลีเซอไรด์

ไตรกลีเซอไรด์(Triglyceride)

 

เป็นไขมันอีกชนิดหนึ่งที่ไม่ใช่ Cholesterol แต่ก็มีความสำคัญเช่นกัน พบว่ามีความสัมพันธ์กับโรค หัวใจขาดเลือด แต่ความสัมพันธ์นี้อาจไม่ "แรง" หรือ "ชัดเจน" เหมือน cholesterol นัก พบได้บ่อย มากในผู้ที่อ้วน เบาหวาน ดื่มสุราประจำ หรือมีโรคบางชนิดอยู่ด้วย ไตรกลีเซอไรด์ ประกอบด้วยกรีเซอรีน 1 โมเลกุล และกรดไขมัน 3 โมเลกุล ซึ่งอาจเป็นกรดไขมันชนิดเดียวกันหรือต่างกันได้ ไขมันมีหลายชนิด แล้วแต่ชนิดของกรดไขมันที่เป็นส่วนประกอบ กรดไขมันมีอยู่ 2 ชนิด

 

1. กรดไขมันอิ่มตัว (Saturated fatty acids) หมายถึง กรดไขมันที่คาร์บอนทุกตัวในโมเลกุลไม่สามารถจับกับไฮโดรเจนเพิ่มได้และไม่สามารถจะจับกับสารใดๆ ได้อีก ไขมันอิ่มตัวมักได้มาจากสัตว์ ซึ่งมีลักษณะแข็งตัวได้แม้ในอุณหภูมิปกติ เช่น เนยแข็ง  น้ำมันหมู ช็อคโกแลต   ทำให้ระดับโคเลสเตอรอลและแอล ดี แอล โคเลสเตอรอล ในเลือดเพิ่มขึ้น และลดเอช ดี แอล โคเลสเตอรอลในเลือดลง

 

2.กรดไขมันไม่อิ่มตัว (Unsaturated fatty acids) หมายถึง กรดไขมันที่คาร์บอนในโมเลกุลสามารถเกาะกับไฮโดรเจนเพิ่มขึ้นได้ กรดไขมันไม่อิ่มตัวแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ

 

2.1)กรดไขมันไม่อิ่มตัวตำแหน่งเดียว มีมากในน้ำมันมะกอก น้ำมันคาโนลา น้ำมันรำ น้ำมันถั่วลิสง และถั่วเปลือกแข็งบางชนิด ช่วยลดระดับโคเลสเตอรอลและแอล ดี แอล โคเลสเตอรอล

 2.2)กรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายตำแหน่ง กรดไขมันชนิดนี้สำคัญต่อร่างกายมาก ช่วยในการทำงานของอวัยวะสำคัญในร่างกาย มี ลักษณะเหลวแม้ในอุณหภูมิต่ำ ส่วนใหญ่ได้จากพืชและสัตว์น้ำบางชนิด เช่น น้ำมันทานตะวัน น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันข้าวโพด น้ำมันเหล่านี้มีกรดไลโนเลอิกซึ่งช่วยลดโคเลสเตอรอลและแอล ดี แอล โคเลสเตอรอลในเลือด แม้โคเลสเตอรอล จะไม่สูงแต่ถ้าไตรกลีเซอไรด์สูงก็จะทำให้มีความเสี่ยง โรคหัวใจขาดเลือด อัมพฤกษ์อัมพาต นอกจากนี้ระดับไตรกลีเซอไรด์ที่สูงมากๆ อาจจะทำให้เกิดโรคตับอ่อนอักเสบซึ่งอาจร้ายแรงถึงเสียชีวิตได้ 

 

หน้าถัดไป>>>

สร้างโดย: 
น.ส.สัญลักษณ์ วัฒนาเฉลิมยศ น.ส.อารีรัตน์ พุ่มทรัพย์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 396 คน กำลังออนไลน์