• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b2708a5aff7dd31e4d7fb5c7ca1de260' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #993366\"><b>3.  ลัทธินิยมทางทหาร</b></span>\n</p>\n<p>\n<b>          </b>การแข่งขันกันสะสมกำลังและอาวุธ  เพื่อสร้างแสนยานุภาพทั้งทางบก  ทางน้ำ  และทางอากาศ  ทำให้มหาอำนาจต่างไม่ไว้ใจ\n</p>\n<p>\nซึ่งกันและกัน  ใน  ค.ศ. 1933  เยอรมนีได้ยกเลิกสนธิสัญญาแวร์ซาย  ซึ่งทำไว้ในฐานะประเทศผู้แพ้สงครามโดยการเริ่มลงมือเกณฑ์\n</p>\n<p>\nทหาร  สร้างป้อมปราการสองฝั่งแม่น้ำไรน์  และปรับปรุงกองทัพทุกเหล่า  จนมีกองทัพอากาศที่เกรียงไกร  นอกจากนี้เยอรมนียัง\n</p>\n<p>\nสามารถสร้างอาวุธที่ทันสมัยและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างรวดเร็วด้วย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\"><br />\n<b>4.  มหาอำนาจแบ่งออกเป็นสองฝ่าย</b></span>\n</p>\n<p>\n<b>          </b>คือ  ฝ่ายอักษะ (Axis)  ประกอบด้วยเยอรมนี  อิตาลี  และญี่ปุ่น  ซึ่งดำเนินนโยบายต่างประเทศไปในทำนองเดียวกัน  คือ\n</p>\n<p>\nการรุกรานและขยายอำนาจตรงข้ามกับฝ่ายพันธมิตร (Allies)  ซึ่งเป็นฝ่ายประชาธิปไตยตะวันตก  ได้แก่  อังกฤษ  ฝรั่งเศส  และสหรัฐ\n</p>\n<p>\nอเมริกา  ที่ดำเนินนโยบายต่างประเทศที่แตกต่างกัน  โดยเฉพาะอังกฤษพยายามใช้นโยบายรอมชอม  ทำให้เยอรมนียิ่งฮึกเหิมที่จะ\n</p>\n<p>\nขยายอำนาจต่อไป\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u19042/old-189.jpg\" width=\"457\" height=\"319\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\">สมรภูมิแมนจูเรีย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.tanarmy.com/image/manchuria/old-189.jpg\"><sup>http://www.tanarmy.com/image/manchuria/old-189.jpg</sup></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\"><b>5.  ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ</b></span>\n</p>\n<p>\n<b>          </b>องค์การสันนิบาตชาติไม่สามารถหยุดยั้งการรุกรานของมหาอำนาจบางประเทศได้  เช่น  ญี่ปุ่นบุกเข้ายึดครองแมนจูเรีย เยอรมนี\n</p>\n<p>\nเข้ายึดครองแคว้นไรน์  อิตาลีรุกรานอะบิสซิเนีย  และในเวลาต่อมา  ประเทศดังกล่าวยังได้ลาออกจากการเป็นสมาชิกขององค์การ\n</p>\n<p>\nสันนิบาตชาติอีกด้วย  นอกจากนี้สหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นมหาอำนาจชาติหนึ่งและเป็นผู้ริเริ่มหลักการขององค์การสันนิบาตชาติ  แต่ก็ไม่ได้\n</p>\n<p>\nเป็นสมาชิกขององค์การนี้  จึงทำให้องค์การสันนิบาตชาติไม่มีความเข้มแข็งเท่าที่ควร\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<sup><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #339966\">อ้างอิง :</span></span> </span></sup><a href=\"http://www.ratb.ac.th/webgroup/chumsai/E2.2.html\"><sup><span style=\"color: #339966\">http://www.ratb.ac.th/webgroup/chumsai/E2.2.html</span></sup></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/50782\">&lt;&lt; previous</a>\n</p>\n<p></p>\n<hr width=\"100%\" size=\"2\" />\n', created = 1718542774, expire = 1718629174, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b2708a5aff7dd31e4d7fb5c7ca1de260' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สาเหตุของสงคราม II

3.  ลัทธินิยมทางทหาร

          การแข่งขันกันสะสมกำลังและอาวุธ  เพื่อสร้างแสนยานุภาพทั้งทางบก  ทางน้ำ  และทางอากาศ  ทำให้มหาอำนาจต่างไม่ไว้ใจ

ซึ่งกันและกัน  ใน  ค.ศ. 1933  เยอรมนีได้ยกเลิกสนธิสัญญาแวร์ซาย  ซึ่งทำไว้ในฐานะประเทศผู้แพ้สงครามโดยการเริ่มลงมือเกณฑ์

ทหาร  สร้างป้อมปราการสองฝั่งแม่น้ำไรน์  และปรับปรุงกองทัพทุกเหล่า  จนมีกองทัพอากาศที่เกรียงไกร  นอกจากนี้เยอรมนียัง

สามารถสร้างอาวุธที่ทันสมัยและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างรวดเร็วด้วย

 


4.  มหาอำนาจแบ่งออกเป็นสองฝ่าย

          คือ  ฝ่ายอักษะ (Axis)  ประกอบด้วยเยอรมนี  อิตาลี  และญี่ปุ่น  ซึ่งดำเนินนโยบายต่างประเทศไปในทำนองเดียวกัน  คือ

การรุกรานและขยายอำนาจตรงข้ามกับฝ่ายพันธมิตร (Allies)  ซึ่งเป็นฝ่ายประชาธิปไตยตะวันตก  ได้แก่  อังกฤษ  ฝรั่งเศส  และสหรัฐ

อเมริกา  ที่ดำเนินนโยบายต่างประเทศที่แตกต่างกัน  โดยเฉพาะอังกฤษพยายามใช้นโยบายรอมชอม  ทำให้เยอรมนียิ่งฮึกเหิมที่จะ

ขยายอำนาจต่อไป

 

สมรภูมิแมนจูเรีย

http://www.tanarmy.com/image/manchuria/old-189.jpg

 

5.  ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ

          องค์การสันนิบาตชาติไม่สามารถหยุดยั้งการรุกรานของมหาอำนาจบางประเทศได้  เช่น  ญี่ปุ่นบุกเข้ายึดครองแมนจูเรีย เยอรมนี

เข้ายึดครองแคว้นไรน์  อิตาลีรุกรานอะบิสซิเนีย  และในเวลาต่อมา  ประเทศดังกล่าวยังได้ลาออกจากการเป็นสมาชิกขององค์การ

สันนิบาตชาติอีกด้วย  นอกจากนี้สหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นมหาอำนาจชาติหนึ่งและเป็นผู้ริเริ่มหลักการขององค์การสันนิบาตชาติ  แต่ก็ไม่ได้

เป็นสมาชิกขององค์การนี้  จึงทำให้องค์การสันนิบาตชาติไม่มีความเข้มแข็งเท่าที่ควร

 

อ้างอิง : http://www.ratb.ac.th/webgroup/chumsai/E2.2.html

 

<< previous


สร้างโดย: 
นางรัชญา ไชยนา, นางสาวสุจิตรา ทรัพย์จรูญวงศ์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 544 คน กำลังออนไลน์