• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:bdf15ffd0911012ac05a488327b3b2b7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช(Plant  Tissue  Culture) </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\nการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช คือการนำเอาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืช เช่น อวัยวะ  เนื้อเยื่อ และเซลล์มาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ ซึ่งประกอบด้วยแร่ธาตุ  น้ำตาล  ไวตามินและสารควบคลุมการเจริญเติบโต  ในสภาพปลอดเชื้อจุลินทรีย์  โดยมีการควบคุมสภาพแวดล้อม  เช่น อุณหภูมิ  แสง และความชื้น ส่วนต่างๆของพืชเหล่านี้จะสามารถเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ โดยอาศัยคุณสมบัติพิเศษของเซลล์พืชที่สามรถเจริญเติบโต  พัฒนาไปเป็นต้นใหม่ได้หรือที่เรียกว่า โคลนนิ่ง\n</p>\n<p align=\"center\">\nการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเริ่มต้นในปี ค.ศ.1902  โดย Haberlandt  นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันได้ทำการแยกเซลล์พืชมาเลี้ยง  เพื่อจะทำการศึกษาคุณสมบัติของเซลล์  แต่ยังไม่ประสบผลสำเร็จจนถึงระดับเซลล์มีการแบ่งตัว  เพียงแต่พบว่าเซลล์มีการขยายขนาดขึ้นเท่านั้น  ในปี ค.ศ.1930  ได้มีการพัฒนาการเลี้ยงเซลล์ที่แยกมาจากรากของพืชหลายชนิดโดยเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ  ต่อมาในปี ค.ศ. 1938  สามารถเพาะเลี้ยงอวัยวะ( Organ ) และ แคลลัส ( Callus ) ของพืชได้หลายชนิดและนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา  เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชได้มีการพัฒนาไปได้อย่างกว้างขวาง และมีการค้นพบเทคนิคใหม่ๆอีกมากมาย ซึ่งสามารถทำการเพาะเลี้ยงพืชเซลล์เดี่ยวๆและโปรโตพลาสต์ของพืชได้หลายชนิด  รวมทั้งการใช้เทคนิคทางเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น การตัดต่อยีนส์  การถ่ายยีนส์ ฯลฯ เทคนิค การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชจึงมีบทบาทสำคัญต่อวิทยาการแขนงอื่นๆ เช่น ชีวเคมี  พันธุศาสตร์  การปรับปรุงพันธุ์พืช  โรคพืช  และเภสัชศาสตร์ เป็นต้น\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>ประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช</strong>  \n</p>\n<p align=\"center\">\n1.เพื่อการผลิตต้นพันธุ์พืชปริมาณมากในระยะเวลาอันรวดเร็ว  โดยอาศัยอาหารสูตรที่สามารถเพิ่มจำนวนต้นเป็นทวีคูณ               \n</p>\n<p align=\"center\">\n2.เพื่อเป็นการผลิตพืชที่ปราศจากโรค  ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย  เชื้อรา และเชื้อไวรัส  เพราะการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชจะใช้ส่วนที่เป็นเนื้อเยื่อที่เจริญที่อยู่ที่บริเวณปลายยอดของลำต้นและเนื้อเยื่อคัพภะ (Embryo) ซึ่งถือว่าปลอดจากเชื้อไวรัสมากที่สุด               \n</p>\n<p align=\"center\">\n3.เพื่อเป้นการปรับปรุงพันธุ์พืช  โดยการชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ แล้วคัดเลือกเอาสารพันธุ์ที่ดีไว้ซึ่งอาจทำได้โดยการใช้สารเคมี การฉายรังสี  การติดต่อยีนส์  และการย้ายยีนส์               \n</p>\n<p align=\"center\">\n4.เพื่อการผลิตพืชพันธุ์ต้านทาน  โดยการเพาะเลี้ยงในอาหารที่มีเงื่อนไขต่างๆ  เช่น การสร้างพันธุ์ต้านทานต่อสารพิษของโรค  ต้านทานต่อแมลง  ต้านทานต่อยากำจัดวัชพืช ฯลฯ               \n</p>\n<p align=\"center\">\n5.เพื่อการผลิตพันธุ์พืชทนทาน  โดยการคัดสายพันธุ์ทนทานจากการจัดเงื่อนไขของอาหารและสภาวะแวดล้อม  เช่น การคัดสายพันธุ์พืชทนเค็ม  สายพันธุ์ทนต่อดินเปรี้ยว  เป็นต้น               \n</p>\n<p align=\"center\">\n6.เพื่อการผลิตยาและสารเคมีจากพืช  พืชบางชนิดมีคุณสมบัติทางยาแต่บางครั้งปริมาณยาที่สกัดอยู่ในเนื้อสารมีปริมาณน้อย  จึงต้องมีการปรับสภาพแวดล้อมและอาหารที่เหมาะสม ก็อาจชักนำให้เกิดการสังเคราะห์สารที่เราต้องการได้มากขึ้น               \n</p>\n<p align=\"center\">\n7.เพื่อการศึกษาทางชีวเคมีและสรีรวิทยาของพืช               \n</p>\n<p align=\"center\">\n8.เพื่อการเก็บรักษาพันธุ์พืช  ซึ่งปัจจุบันนี้มีพืชหลายชนิดสูญพันธุ์ไปเนื่องจากสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลง  วิธีการเก็บรักษาพืชพรรณต่างๆ ไว้ในหลอดทดลองจะทำให้พืชมีอัตราการเจริญเติบโตที่ช้ามาก  ทำให้ประหยัดเวลา  แรงงาน และอาหาร  จนกว่าเมื่อใดเราต้องการพืชชนิดนั้นๆจึงนำมาขยายเพิ่มจำนวนได้\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n1.การเตรียมอาหารสำหรับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  ซึ่งประกอบด้วย  สารกลุ่มอนินทรีย์ และสารกลุ่มอินทรีย์               \n</p>\n<p align=\"center\">\n2.การคัดเลือกเนื้อเยื่อพืช  การเลือกเนื้อเยื่อที่ดีได้ส่วนที่ถูกต้องจะทำให้เกิดการฟอกฆ่าเชื้อและการชักนำให้เกิดต้นประสบความสำเร็จสูง\n</p>\n<p align=\"center\">\n3.การฟอกฆ่าเชื้อ  เป็นการทำให้ชิ้นส่วนของพืชปลอดเชื้อ  โดยการใช้สารเคมี  ได้แก่ยาระงับเชื้อ และยาทำลายเชื้อ  ซึ่งจะทำหน้าที่ให้ส่วนประกอบที่สำคัญของจุลินทรีย์เสียไป ก่อนที่จะนำมาเพาะเลี้ยงในอาหาร\n</p>\n<p align=\"center\">\n4.การขยายพันธุ์เพิ่มจำนวน  ต้นพืชที่ได้จากการชักนำให้เกิดต้นจะมีความเยาว์วัย ( juveniliti )  สามารถที่จะชักนำให้เกิดต้นจำนวนมากได้ง่าย  โดยทำการเพาะเลี้ยงในอาหารที่มีสารควบคุมการเจริญเติบโตกลุ่มไซโตไคนิน\n</p>\n<p align=\"center\">\n5.การชักนำรากพืช  ต้นพืชที่ได้จากการเพิ่มจำนวนต้นสามารถชักนำให้เกิดรากในอาหารที่มีสารควบคุมการเจริญเติบโตกลุ่มออกซิน  ซึ่งจะส่งเสริมการเกิดรากและยับยั้งการเกิดยอด6.การย้ายออกปลูก  ซึ่งต้องการปรับสภาพของต้นพืชให้คุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมภายนอกประมาณ 2-4 สัปดาห์  จะทำให้ลดเปอร์เซนต์ของการตายของต้นพืชเนื่องจากการย้ายปลูก\n</p>\n', created = 1729476066, expire = 1729562466, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:bdf15ffd0911012ac05a488327b3b2b7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช(Plant  Tissue  Culture)

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช คือการนำเอาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืช เช่น อวัยวะ  เนื้อเยื่อ และเซลล์มาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ ซึ่งประกอบด้วยแร่ธาตุ  น้ำตาล  ไวตามินและสารควบคลุมการเจริญเติบโต  ในสภาพปลอดเชื้อจุลินทรีย์  โดยมีการควบคุมสภาพแวดล้อม  เช่น อุณหภูมิ  แสง และความชื้น ส่วนต่างๆของพืชเหล่านี้จะสามารถเจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ โดยอาศัยคุณสมบัติพิเศษของเซลล์พืชที่สามรถเจริญเติบโต  พัฒนาไปเป็นต้นใหม่ได้หรือที่เรียกว่า โคลนนิ่ง

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเริ่มต้นในปี ค.ศ.1902  โดย Haberlandt  นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันได้ทำการแยกเซลล์พืชมาเลี้ยง  เพื่อจะทำการศึกษาคุณสมบัติของเซลล์  แต่ยังไม่ประสบผลสำเร็จจนถึงระดับเซลล์มีการแบ่งตัว  เพียงแต่พบว่าเซลล์มีการขยายขนาดขึ้นเท่านั้น  ในปี ค.ศ.1930  ได้มีการพัฒนาการเลี้ยงเซลล์ที่แยกมาจากรากของพืชหลายชนิดโดยเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ  ต่อมาในปี ค.ศ. 1938  สามารถเพาะเลี้ยงอวัยวะ( Organ ) และ แคลลัส ( Callus ) ของพืชได้หลายชนิดและนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา  เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชได้มีการพัฒนาไปได้อย่างกว้างขวาง และมีการค้นพบเทคนิคใหม่ๆอีกมากมาย ซึ่งสามารถทำการเพาะเลี้ยงพืชเซลล์เดี่ยวๆและโปรโตพลาสต์ของพืชได้หลายชนิด  รวมทั้งการใช้เทคนิคทางเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น การตัดต่อยีนส์  การถ่ายยีนส์ ฯลฯ เทคนิค การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชจึงมีบทบาทสำคัญต่อวิทยาการแขนงอื่นๆ เช่น ชีวเคมี  พันธุศาสตร์  การปรับปรุงพันธุ์พืช  โรคพืช  และเภสัชศาสตร์ เป็นต้น

ประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  

1.เพื่อการผลิตต้นพันธุ์พืชปริมาณมากในระยะเวลาอันรวดเร็ว  โดยอาศัยอาหารสูตรที่สามารถเพิ่มจำนวนต้นเป็นทวีคูณ               

2.เพื่อเป็นการผลิตพืชที่ปราศจากโรค  ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย  เชื้อรา และเชื้อไวรัส  เพราะการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชจะใช้ส่วนที่เป็นเนื้อเยื่อที่เจริญที่อยู่ที่บริเวณปลายยอดของลำต้นและเนื้อเยื่อคัพภะ (Embryo) ซึ่งถือว่าปลอดจากเชื้อไวรัสมากที่สุด               

3.เพื่อเป้นการปรับปรุงพันธุ์พืช  โดยการชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ แล้วคัดเลือกเอาสารพันธุ์ที่ดีไว้ซึ่งอาจทำได้โดยการใช้สารเคมี การฉายรังสี  การติดต่อยีนส์  และการย้ายยีนส์               

4.เพื่อการผลิตพืชพันธุ์ต้านทาน  โดยการเพาะเลี้ยงในอาหารที่มีเงื่อนไขต่างๆ  เช่น การสร้างพันธุ์ต้านทานต่อสารพิษของโรค  ต้านทานต่อแมลง  ต้านทานต่อยากำจัดวัชพืช ฯลฯ               

5.เพื่อการผลิตพันธุ์พืชทนทาน  โดยการคัดสายพันธุ์ทนทานจากการจัดเงื่อนไขของอาหารและสภาวะแวดล้อม  เช่น การคัดสายพันธุ์พืชทนเค็ม  สายพันธุ์ทนต่อดินเปรี้ยว  เป็นต้น               

6.เพื่อการผลิตยาและสารเคมีจากพืช  พืชบางชนิดมีคุณสมบัติทางยาแต่บางครั้งปริมาณยาที่สกัดอยู่ในเนื้อสารมีปริมาณน้อย  จึงต้องมีการปรับสภาพแวดล้อมและอาหารที่เหมาะสม ก็อาจชักนำให้เกิดการสังเคราะห์สารที่เราต้องการได้มากขึ้น               

7.เพื่อการศึกษาทางชีวเคมีและสรีรวิทยาของพืช               

8.เพื่อการเก็บรักษาพันธุ์พืช  ซึ่งปัจจุบันนี้มีพืชหลายชนิดสูญพันธุ์ไปเนื่องจากสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลง  วิธีการเก็บรักษาพืชพรรณต่างๆ ไว้ในหลอดทดลองจะทำให้พืชมีอัตราการเจริญเติบโตที่ช้ามาก  ทำให้ประหยัดเวลา  แรงงาน และอาหาร  จนกว่าเมื่อใดเราต้องการพืชชนิดนั้นๆจึงนำมาขยายเพิ่มจำนวนได้

ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

1.การเตรียมอาหารสำหรับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  ซึ่งประกอบด้วย  สารกลุ่มอนินทรีย์ และสารกลุ่มอินทรีย์               

2.การคัดเลือกเนื้อเยื่อพืช  การเลือกเนื้อเยื่อที่ดีได้ส่วนที่ถูกต้องจะทำให้เกิดการฟอกฆ่าเชื้อและการชักนำให้เกิดต้นประสบความสำเร็จสูง

3.การฟอกฆ่าเชื้อ  เป็นการทำให้ชิ้นส่วนของพืชปลอดเชื้อ  โดยการใช้สารเคมี  ได้แก่ยาระงับเชื้อ และยาทำลายเชื้อ  ซึ่งจะทำหน้าที่ให้ส่วนประกอบที่สำคัญของจุลินทรีย์เสียไป ก่อนที่จะนำมาเพาะเลี้ยงในอาหาร

4.การขยายพันธุ์เพิ่มจำนวน  ต้นพืชที่ได้จากการชักนำให้เกิดต้นจะมีความเยาว์วัย ( juveniliti )  สามารถที่จะชักนำให้เกิดต้นจำนวนมากได้ง่าย  โดยทำการเพาะเลี้ยงในอาหารที่มีสารควบคุมการเจริญเติบโตกลุ่มไซโตไคนิน

5.การชักนำรากพืช  ต้นพืชที่ได้จากการเพิ่มจำนวนต้นสามารถชักนำให้เกิดรากในอาหารที่มีสารควบคุมการเจริญเติบโตกลุ่มออกซิน  ซึ่งจะส่งเสริมการเกิดรากและยับยั้งการเกิดยอด6.การย้ายออกปลูก  ซึ่งต้องการปรับสภาพของต้นพืชให้คุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมภายนอกประมาณ 2-4 สัปดาห์  จะทำให้ลดเปอร์เซนต์ของการตายของต้นพืชเนื่องจากการย้ายปลูก

สร้างโดย: 
คุณครูจุฑารัตน์ จริงธนสาร และ นางสาวพิชญา เปลี่ยนศิริ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 336 คน กำลังออนไลน์