• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b1da4fe3e7ec2559c87173cdae83817d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>ข้าวโพดโปรตีนสูง</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\nข้าวโพดเป็นอาหารเลี้ยงปศุสัตว์ที่สำคัญ และบ่อยครั้งที่พบก็คือ ปศุสัตว์ที่ใช้ข้าวโพดเลี้ยงเป็นอาหารหลัก มักด้อยโภชนาการ เนื่องจากว่า พันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ปลูกกันโดยปกติ คุณภาพของโปรตีนต่ำ และปริมาณกรดอมิโนไม่สมดุลย์ (กรดอมิโน คือ หน่วยย่อยของโปรตีน) เป็นเวลานานหลายปีทีเดียว ที่นักปรับปรุงพันธุ์ได้พยายาม ที่จะพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดเพื่อให้มีปริมาณโปรตีนสูง แต่กระบวนการที่จะปรับปรุงเรื่องโปรตีน เพื่อให้มีทั้งคุณภาพและปริมาณในข้าวโพดพันธุ์เดิมๆ นั้น ช้ามาก ความสำเร็จจึงค่อนข้างจำกัด เมื่อไม่นานมานี้ นักปรับปรุงพันธุ์พืชได้พยายามใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีชีวภาพหลายอย่างเพื่อจะเติมสารพันธุกรรมที่มีผลในการกระตุ้นการสร้างกรดอมิโนคุณภาพดีลงในข้าวโพด โครงการวิจัยเหล่านี้หลายโครงการ ให้ผลเป็นที่น่าพอใจ มีโครงการหนึ่งพบว่า เราสามารถเพิ่มระดับของกรดอมิโน “ไลซีน” ขึ้นได้เฉลี่ยร้อยละ 35 และโปรตีนโดยรวมร้อยละ 26 ซึ่งนับว่าเป็นนวัตกรรมที่น่าตื่นเต้นเป็นอย่างยิ่ง เพราะการที่ไลซีนเพิ่มขึ้น จะมีผลช่วยปรับปรุงคุณภาพ และคุณค่าจากโภชนาการของโปรตีนโดยรวมอย่างมหาศาล ในขณะที่ข้าวโพดพันธุ์เดิมๆ มีปริมาณกรดอมิโนจำเป็นตัวนี้น้อยมาก นักวิทยาศาสตร์จึงมีความมั่นใจว่าจากการค้นพบวิธีดังกล่าวนี้ พวกเขาจะสามารถพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดให้มีปริมาณโปรตีนสูงขึ้นกว่านี้ได้อีก ในอนาคตอันใกล้\n</p>\n<p align=\"center\">\nการใช้เทคนิคของเทคโนโลยีชีวภาพอย่างเช่น genetic marker นี้เป็นสิ่งที่ทำให้นักปรับปรุงพันธุ์ สามารถย่นระยะเวลาในการหาพันธุ์พืชใหม่ได้เร็วกว่าวิธีการดั้งเดิม เป็นเดือนๆ  หรืออาจเป็นปีๆ ด้วยซ้ำ การใช้ genetic marker  สามารถช่วยให้นักปรับปรุงพันธุ์พืช เริ่มต้นการคัดเลือกได้ ตั้งแต่ในระดับเซลล์  โดยการค้นหาสารพันธุกรรมหรือยีนส์ ที่ควบคุมลักษณะที่เราต้องการและตรวจสอบได้ ตั้งแต่ระยะแรกของการผสมข้ามพันธุ์  ว่าลักษณะดังกล่าวถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกหรือไม่   แทนที่จะต้องผ่านขบวนการผสมเกสรข้ามพันธุ์  แล้วนำลูกผสมที่ได้ไปปลูก  แล้วจึงจะคัดเลือกลักษณะพันธุ์ได้ว่ามีลักษณะที่เราต้องการหรือไม่\n</p>\n', created = 1729477722, expire = 1729564122, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b1da4fe3e7ec2559c87173cdae83817d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ข้าวโพดโปรตีนสูง

ข้าวโพดโปรตีนสูง

ข้าวโพดเป็นอาหารเลี้ยงปศุสัตว์ที่สำคัญ และบ่อยครั้งที่พบก็คือ ปศุสัตว์ที่ใช้ข้าวโพดเลี้ยงเป็นอาหารหลัก มักด้อยโภชนาการ เนื่องจากว่า พันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ปลูกกันโดยปกติ คุณภาพของโปรตีนต่ำ และปริมาณกรดอมิโนไม่สมดุลย์ (กรดอมิโน คือ หน่วยย่อยของโปรตีน) เป็นเวลานานหลายปีทีเดียว ที่นักปรับปรุงพันธุ์ได้พยายาม ที่จะพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดเพื่อให้มีปริมาณโปรตีนสูง แต่กระบวนการที่จะปรับปรุงเรื่องโปรตีน เพื่อให้มีทั้งคุณภาพและปริมาณในข้าวโพดพันธุ์เดิมๆ นั้น ช้ามาก ความสำเร็จจึงค่อนข้างจำกัด เมื่อไม่นานมานี้ นักปรับปรุงพันธุ์พืชได้พยายามใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีชีวภาพหลายอย่างเพื่อจะเติมสารพันธุกรรมที่มีผลในการกระตุ้นการสร้างกรดอมิโนคุณภาพดีลงในข้าวโพด โครงการวิจัยเหล่านี้หลายโครงการ ให้ผลเป็นที่น่าพอใจ มีโครงการหนึ่งพบว่า เราสามารถเพิ่มระดับของกรดอมิโน “ไลซีน” ขึ้นได้เฉลี่ยร้อยละ 35 และโปรตีนโดยรวมร้อยละ 26 ซึ่งนับว่าเป็นนวัตกรรมที่น่าตื่นเต้นเป็นอย่างยิ่ง เพราะการที่ไลซีนเพิ่มขึ้น จะมีผลช่วยปรับปรุงคุณภาพ และคุณค่าจากโภชนาการของโปรตีนโดยรวมอย่างมหาศาล ในขณะที่ข้าวโพดพันธุ์เดิมๆ มีปริมาณกรดอมิโนจำเป็นตัวนี้น้อยมาก นักวิทยาศาสตร์จึงมีความมั่นใจว่าจากการค้นพบวิธีดังกล่าวนี้ พวกเขาจะสามารถพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดให้มีปริมาณโปรตีนสูงขึ้นกว่านี้ได้อีก ในอนาคตอันใกล้

การใช้เทคนิคของเทคโนโลยีชีวภาพอย่างเช่น genetic marker นี้เป็นสิ่งที่ทำให้นักปรับปรุงพันธุ์ สามารถย่นระยะเวลาในการหาพันธุ์พืชใหม่ได้เร็วกว่าวิธีการดั้งเดิม เป็นเดือนๆ  หรืออาจเป็นปีๆ ด้วยซ้ำ การใช้ genetic marker  สามารถช่วยให้นักปรับปรุงพันธุ์พืช เริ่มต้นการคัดเลือกได้ ตั้งแต่ในระดับเซลล์  โดยการค้นหาสารพันธุกรรมหรือยีนส์ ที่ควบคุมลักษณะที่เราต้องการและตรวจสอบได้ ตั้งแต่ระยะแรกของการผสมข้ามพันธุ์  ว่าลักษณะดังกล่าวถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกหรือไม่   แทนที่จะต้องผ่านขบวนการผสมเกสรข้ามพันธุ์  แล้วนำลูกผสมที่ได้ไปปลูก  แล้วจึงจะคัดเลือกลักษณะพันธุ์ได้ว่ามีลักษณะที่เราต้องการหรือไม่

สร้างโดย: 
คุณครูจุฑารัตน์ จริงธนสาร และ นางสาวพิชญา เปลี่ยนศิริ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 358 คน กำลังออนไลน์