• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4c162094691436dc232b938eb2c3609a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>อาวุธชีวภาพ</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\nอาวุธชีวภาพ (biological weapon) คืออาวุธที่ได้จากสิ่งมีชีวิต ซึ่งครอบคลุมถึงตัวสิ่งมีชีวิตเอง สารพิษจากสิ่งมีชีวิต หรือแม้กระทั่งฮอร์โมนหรือสารอื่นใดที่สิ่งมีชีวิตผลิตขึ้นมา\n</p>\n<p align=\"center\">\nการนำอาวุธชีวภาพมาใช้ในการสงครามนับเนื่องได้ตั้งแต่ยุคโรมันเรืองอำนาจเมื่อประมาณ ๒,๐๐๐ ปีก่อน มีการนำซากสัตว์มาทิ้งลงในแหล่งน้ำของข้าศึก พวกตาต้าก็เคยใช้ศพมนุษย์โยนข้ามกำแพงเมืองคัฟฟาเพื่อให้เกิดโรคระบาดและในขณะเดียวกันก็สร้างความหวั่นไหวในลักษณะของสงครามจิตวิทยาเหนือข้าศึก ในการสงครามยุคใหม่ ประเทศญี่ปุ่นจัดตั้งหน่วย ๗๓๑ ขึ้นในแมนจูเรียเมื่อปี ค.ศ.๑๙๑๘ มีภารกิจในการทดลองและพัฒนาอาวุธชีวภาพโดยตรง ด้วยการพัฒนาอาวุธเคมีและเชื้อโรคโดยใช้เชลยชาวจีนและรัสเซียเป็นเครื่องทดลอง\n</p>\n<p align=\"center\">\nปี ค.ศ.๑๙๔๐ นาซีพัฒนาอาวุธเชื้อโรคจากเชื้อ Rickettsia และ ค.ศ.๑๙๔๒ อังกฤษพัฒนาอาวุธเชื้อโรคโดยการเพาะเลี้ยงเชื้อแอนแทรกซ์ ซึ่งในปีเดียวกันนี้สหรัฐอเมริกาเริ่มการพัฒนาเชื้อแอนแทรกซ์เป็นครั้งแรกและได้นำไปทำการวิจัยในสมรภูมิเกาหลีในปี ค.ศ.๑๙๕๐ ในทศวรรษปัจจุบันญี่ปุ่นยังมีการวิจัยเชื้อไวรัสอิโบล่าเพื่อการสร้างอาวุธ และเป็นที่เชื่อกันว่าในปีนั้นมีประเทศต่าง ๆ ในโลกถึง ๑๗ ประเทศที่มีอาวุธชีวภาพอยู่ในความครอบครอง\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>ประเภทของเชื้อโรคที่ใช้นำมาสร้างอาวุธชีวภาพ</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n๑. แอนแทรกซ์\n</p>\n<p align=\"center\">\n๒. ฝีดาษ\n</p>\n<p align=\"center\">\n๓. กาฬโรค\n</p>\n<p align=\"center\">\n๔. Q Fever\n</p>\n<p align=\"center\">\n๕. Tularemia\n</p>\n<p align=\"center\">\n๖. Viral Encephalitides\n</p>\n<p align=\"center\">\n๗. Viral Hemorrhagic Fevers (VHF)\n</p>\n<p align=\"center\">\n๘. Botulinum Toxin\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>เงื่อนไขสำคัญที่ทำให้อาวุธชีวภาพสามารถทำลายข้าศึกได้อย่างมีประสิทธิภาพ</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n๑. ปริมาณของอาวุธชีวภาพ\n</p>\n<p align=\"center\">\n๒. การออกแบบระบบการบรรจุ\n</p>\n<p align=\"center\">\n๓. ระบบนำส่งอาวุธไปในระยะไกลและมีความแม่นยำ\n</p>\n<p align=\"center\">\n๔. ความสามารถในการกระจายตัวเหนือเป้าหมาย\n</p>\n<p align=\"center\">\nอาวุธชีวภาพ เป็นอาวุธที่มีอำนาจการทำลายสูง และสามารถพัฒนาขึ้นได้โดยง่ายด้วยงบประมาณที่ไม่มากนัก เปรียบเสมือนอาวุธนิวเคลียร์ของประเทศยากจน จึงเป็นที่หวั่นเกรงกันว่ากลุ่มก่อการร้ายจะนำมาใช้ในการทำลายเป้าหมายทั้งของรัฐและพลเมืองในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ดังเช่นที่ปรากฎมาแล้วจากกรณีกลุ่มโอมชินริเกียวทำการปล่อยแก๊ซซารินในสถานีรถไฟใต้ดินกลางนครโตเกียวในปี พ.ศ.๒๕๓๘ ทำให้มีผู้เสียชีวิตทันที ๑๒ คน และบาดเจ็บกว่า ๓,๐๐๐ คนและในปัจจุบันสหรัฐอเมริกาก็เตือนญี่ปุ่นให้พึงระวังการตกเป็นเป้าโจมตีของอาวุธชีวภาพจากกลุ่มก่อการร้ายอัลไคดาดังเช่นสหรัฐฯ เนื่องจากทั้ง ๒ ประเทศมีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้น\n</p>\n', created = 1718651904, expire = 1718738304, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4c162094691436dc232b938eb2c3609a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

Biological Weapon

อาวุธชีวภาพ

อาวุธชีวภาพ (biological weapon) คืออาวุธที่ได้จากสิ่งมีชีวิต ซึ่งครอบคลุมถึงตัวสิ่งมีชีวิตเอง สารพิษจากสิ่งมีชีวิต หรือแม้กระทั่งฮอร์โมนหรือสารอื่นใดที่สิ่งมีชีวิตผลิตขึ้นมา

การนำอาวุธชีวภาพมาใช้ในการสงครามนับเนื่องได้ตั้งแต่ยุคโรมันเรืองอำนาจเมื่อประมาณ ๒,๐๐๐ ปีก่อน มีการนำซากสัตว์มาทิ้งลงในแหล่งน้ำของข้าศึก พวกตาต้าก็เคยใช้ศพมนุษย์โยนข้ามกำแพงเมืองคัฟฟาเพื่อให้เกิดโรคระบาดและในขณะเดียวกันก็สร้างความหวั่นไหวในลักษณะของสงครามจิตวิทยาเหนือข้าศึก ในการสงครามยุคใหม่ ประเทศญี่ปุ่นจัดตั้งหน่วย ๗๓๑ ขึ้นในแมนจูเรียเมื่อปี ค.ศ.๑๙๑๘ มีภารกิจในการทดลองและพัฒนาอาวุธชีวภาพโดยตรง ด้วยการพัฒนาอาวุธเคมีและเชื้อโรคโดยใช้เชลยชาวจีนและรัสเซียเป็นเครื่องทดลอง

ปี ค.ศ.๑๙๔๐ นาซีพัฒนาอาวุธเชื้อโรคจากเชื้อ Rickettsia และ ค.ศ.๑๙๔๒ อังกฤษพัฒนาอาวุธเชื้อโรคโดยการเพาะเลี้ยงเชื้อแอนแทรกซ์ ซึ่งในปีเดียวกันนี้สหรัฐอเมริกาเริ่มการพัฒนาเชื้อแอนแทรกซ์เป็นครั้งแรกและได้นำไปทำการวิจัยในสมรภูมิเกาหลีในปี ค.ศ.๑๙๕๐ ในทศวรรษปัจจุบันญี่ปุ่นยังมีการวิจัยเชื้อไวรัสอิโบล่าเพื่อการสร้างอาวุธ และเป็นที่เชื่อกันว่าในปีนั้นมีประเทศต่าง ๆ ในโลกถึง ๑๗ ประเทศที่มีอาวุธชีวภาพอยู่ในความครอบครอง

ประเภทของเชื้อโรคที่ใช้นำมาสร้างอาวุธชีวภาพ

๑. แอนแทรกซ์

๒. ฝีดาษ

๓. กาฬโรค

๔. Q Fever

๕. Tularemia

๖. Viral Encephalitides

๗. Viral Hemorrhagic Fevers (VHF)

๘. Botulinum Toxin

เงื่อนไขสำคัญที่ทำให้อาวุธชีวภาพสามารถทำลายข้าศึกได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๑. ปริมาณของอาวุธชีวภาพ

๒. การออกแบบระบบการบรรจุ

๓. ระบบนำส่งอาวุธไปในระยะไกลและมีความแม่นยำ

๔. ความสามารถในการกระจายตัวเหนือเป้าหมาย

อาวุธชีวภาพ เป็นอาวุธที่มีอำนาจการทำลายสูง และสามารถพัฒนาขึ้นได้โดยง่ายด้วยงบประมาณที่ไม่มากนัก เปรียบเสมือนอาวุธนิวเคลียร์ของประเทศยากจน จึงเป็นที่หวั่นเกรงกันว่ากลุ่มก่อการร้ายจะนำมาใช้ในการทำลายเป้าหมายทั้งของรัฐและพลเมืองในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ดังเช่นที่ปรากฎมาแล้วจากกรณีกลุ่มโอมชินริเกียวทำการปล่อยแก๊ซซารินในสถานีรถไฟใต้ดินกลางนครโตเกียวในปี พ.ศ.๒๕๓๘ ทำให้มีผู้เสียชีวิตทันที ๑๒ คน และบาดเจ็บกว่า ๓,๐๐๐ คนและในปัจจุบันสหรัฐอเมริกาก็เตือนญี่ปุ่นให้พึงระวังการตกเป็นเป้าโจมตีของอาวุธชีวภาพจากกลุ่มก่อการร้ายอัลไคดาดังเช่นสหรัฐฯ เนื่องจากทั้ง ๒ ประเทศมีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้น

สร้างโดย: 
คุณครูจุฑารัตน์ จริงธนสาร และ นางสาวพิชญา เปลี่ยนศิริ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 613 คน กำลังออนไลน์