ป่าดิบแล้ง

ป่าดิบแล้ง (dry evergreen forest)

องค์ประกอบของพรรณไม้ที่แตกต่างกันอย่างเด่นชัดระหว่างป่าดิบแล้งกับป่าดิบชื้นก็คือการลดลงของจำนวoชนิดพรรณไม้วงศ์ยางของป่าดิบแล้งเมื่อเปรียบเทียบกับป่าดิบชื้น โครงสร้างของป่าประกอบด้วยเรือนยอด 3 ชั้น โดยไม้ในเรือนยอดชั้นบน (canopy layer) นั้นประกอบด้วยพรรณไม้ผลัดใบน้อยกว่าหนึ่งในสาม ชั้นของไม้พุ่ม (shrub layer) มีการพัฒนาดี และมีเถาวัลย์ที่มีเนื้อไม้ (woody climber) หลายชนิด พรรณไม้พวกปาล์มพบกระจายอยู่ทั่วไปโดยเฉพาะในบริเวณที่มีความชื้นสูง เช่น ตามแนวลำน้ำ พบที่ความสูงจากระดับน้ำทะเล ประมาณ 100 ถึง 800 เมตร พรรณไม้สำคัญในป่าดิบแล้งได้แก่ กระบาก (Anisoptera costata   ) ยางนา (Dipterocarpus alatus  ) ยางปาย (D. costatus  ) ยางแดง (D. turbinatus  ) ตะเคียนทอง (Hopea odorata  )  
  
 

สร้างโดย: 
น.ส.วรลักษณ์ พินัยนิติศาสตร์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 376 คน กำลังออนไลน์