• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2869ad415be522242c4a4a4b75422eb4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 14pt\" lang=\"TH\">บทที่ </span></b><b><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'; font-size: 14pt\">20 </span></b><b><span style=\"font-size: 14pt\" lang=\"TH\">ฟิสิกส์นิวเคลียร์</span></b><b><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></b></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\">กัมมันตภาพรังสี</span></b><b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></b></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 144.75pt; height: 247.5pt\" id=\"_x0000_i1025\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image001.jpg\" o:href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/115/science/img/pic1.jpg\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"></span></v:imagedata></v:shape></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ในปี ค.ศ. </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1896 </span><span lang=\"TH\">เบ็กเคอเรล ( </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">Henri Becquerel ) </span><span lang=\"TH\">ได้ทำการทดลองการเรืองแสงของสารต่าง ๆ</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">และได้พบว่าสารประกอบของยูเรเนียมสามารแผ่รังสีออกมาได้เองตลอดเวลาโดยไม่ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมเลย</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">และจากการศึกษาเบื้องต้นของเบ็กเคอเรล เขาได้พบว่า</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">รังสีนี้มีสมบัติบางประการคล้ายรังสีเอกซ์ เช่น</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">สามารถทะลุผ่านวัตถุบางชนิดและทำให้อากาศแตกตัวเป็นไอออนได้</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> <br />\n</span><span lang=\"TH\">ต่อมา ปีแอร์ คูรี</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> ( Pierre Curie ) </span><span lang=\"TH\">และมารี คูรี ( </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">Maric Curie ) </span><span lang=\"TH\">ได้ทำการทดลองกับธาตุอื่น ๆ</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">อีกหลายชนิด และพบว่าธาตุบางชนิดมีการแผ่รังสีเช่นเดียวกับธาตุยูเรเนียม</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่องนี้ เรียกว่า กัมมันตภาพรังสี (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> radioactivity ) </span><span lang=\"TH\">และธาตุที่มีการแผ่รังสีได้เองเรียกว่า ธาตุกัมมันตรังสี (</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> radioactive element ) <br />\n</span><span lang=\"TH\">จากการศึกษารังสีที่แผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสีทั่วไป</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">โดยให้รังสีดังกล่าวผ่านเข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กทิศพุ่งเข้าและตั้งฉากกับกระดาษ</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">พบว่า แนวการเคลื่อนที่ของรังสีแยกเป็น </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">3 </span><span lang=\"TH\">แนว ดังรูป </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">4.1 </span><span lang=\"TH\">รังสีที่เบนน้อยและไปทางซ้ายของแนวเดิม เรียกว่า รังสีแอลฟา ( </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">alpha ray ) </span><span lang=\"TH\">รังสีที่เบนมากและในทิศตรงข้ามกับรังสีแอลฟา เรียกว่า รังสีบีตา ( </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">beta ray ) </span><span lang=\"TH\">ส่วนรังสีที่พุ่งตรงไม่เบี่ยงเบนเลย เรียกว่า รังสีแกมมา ( </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">gamma ray ) </span><span lang=\"TH\">และนิยมเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ และ ตามลำดับ</span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">เราทราบแล้วว่า</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเมื่อเคลื่อนที่ในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">จะเกิดแรงกระทำต่ออนุภาคทำให้ทิศการเคลื่อนที่เปลี่ยนไป</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ทำให้ทราบว่ารังสีแอลฟามีประจุไฟฟ้าบวก</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">รังสีบีตามีประจุไฟฟ้าลบและรังสีแกมมามีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">การศึกษารังสีทั้งสามชนิด</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ทำให้ทราบสมบัติต่าง ๆ ของรังสีเหล่านี้เพิ่มขึ้นดังนี้</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">รังสีแอลฟา</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">มีส่วนประกอบเป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียมมีมวลประมาณ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">4u </span><span lang=\"TH\">มีประจุไฟฟ้า +</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">2e </span><span lang=\"TH\">มีพลังงานประมาณ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">6 MeV </span><span lang=\"TH\">รังสีแอลฟาสามารถทำให้สารที่รังสีผ่านแตกตัวเป็นไอออนได้ดี</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">จึงเสียพลังงานอย่างรวดเร็ว รังสีแอลฟาจึงมีอำนาจทะลุผ่านน้อยมาก</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">กล่าวคือสามารถวิ่งผ่านอากาศได้ประมาณ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">5 </span><span lang=\"TH\">เซนติเมตร และเมื่อใช้แผ่นกระดาษบาง ๆ กั้น</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">รังสีแอลฟาก็ทะลุผ่านไม่ได้ เนื่องจากรังสีนี้คือนิวเคลียสที่เป็นอนุภาค</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">บางครั้งจึงเรียกรังสีแอลฟาว่า อนุภาคแอลฟา</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> <br />\n</span><span lang=\"TH\">รังสีบีตา</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า -</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1e </span><span lang=\"TH\">มีมวลเากับมวลของอิเล็กตรอน รังสีบีตา คือิเล็กตรอน</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> ( </span><span lang=\"TH\">ที่มาจากการสลายของนิวเคลียส มิใช่อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่รอบนิวเคลียส )</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">มีพลังงานประมาณ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1 MeV </span><span lang=\"TH\">รังสีบีตาสามารถวิ่งผ่านไปในอากาศได้ประมาณ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">0.5 </span><span lang=\"TH\">เมตร</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">อำนาจทะลุผ่านของรังสีบีตาจึงมากกว่ารังสีแอลฟา บางครั้งเรียกรังสีบีตาว่า</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">อนุภาคบีตา</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> <br />\n</span><span lang=\"TH\">รังสีแกมมา</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เป็นรังสีที่มีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้ามีสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">รังสีแกมมามีพลังงานประมาณ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">0.01 MeV </span><span lang=\"TH\">สามารถทะลุผ่านแผ่นอะลูมิเนียมที่หนาหลายเซนติเมตรได้</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">จึงมีอำนาจทุลุผ่านมากที่สุดในบรรดารังสีทั้งสามชนิด</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> </span></span></span></p>\n<p><b><span lang=\"TH\">รังสีเบต้า</span></b><b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">รังสีบีตาแบ่งออกเป็น </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">2 </span><span lang=\"TH\">ชนิด คือ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">b+ </span><span lang=\"TH\">ซึ่งมีประจุไฟฟ้า +</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1e </span><span lang=\"TH\">และเรียกว่า</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">โพซิตรอน ( </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">positron ) </span><span lang=\"TH\">กับ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">b- </span><span lang=\"TH\">ซึ่งมีประจุไฟฟ้า -</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1e </span><span lang=\"TH\">และเรียกว่า เนกาตรอน (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> negatron ) </span><span lang=\"TH\">ธาตุกัมมันตรังสีส่วนมากจะปล่อย </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">b- </span><span lang=\"TH\">ออกมา</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงรังสีบีตามักจะหมายถึง </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">b- </span><span lang=\"TH\">เสมอ</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> <br />\n</span><span lang=\"TH\">หน่วยมวลอะตอม ( </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">atomic mass unit ) </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">หน่วยมวลอะตอม</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เป็นหน่วยที่ใช้วัดมวลของอะตอมหรืออนุภาค โดยนิยามให้ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1 </span><span lang=\"TH\">หน่วยมวลอะตอมมีค่าเท่ากับ</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> 1/12 </span><span lang=\"TH\">เท่า ของมวลอะตอมคาร์บอน -</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">12 </span><span lang=\"TH\">หน่วยมวลอะตอมแทนด้วยสัญลักษณ์ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">u </span><span lang=\"TH\">ดังนั้นจากนิยามจะเขียนได้ว่า</span></span></span>\n</p>\n<p><span><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman; color: #000000; font-size: small\"> </span></o:p></span></p>\n', created = 1719639875, expire = 1719726275, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2869ad415be522242c4a4a4b75422eb4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฟิสิกส์ ม.6 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์

บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์

กัมมันตภาพรังสี


ในปี ค.ศ. 1896 เบ็กเคอเรล ( Henri Becquerel ) ได้ทำการทดลองการเรืองแสงของสารต่าง ๆ และได้พบว่าสารประกอบของยูเรเนียมสามารแผ่รังสีออกมาได้เองตลอดเวลาโดยไม่ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมเลย และจากการศึกษาเบื้องต้นของเบ็กเคอเรล เขาได้พบว่า รังสีนี้มีสมบัติบางประการคล้ายรังสีเอกซ์ เช่น สามารถทะลุผ่านวัตถุบางชนิดและทำให้อากาศแตกตัวเป็นไอออนได้
ต่อมา ปีแอร์ คูรี ( Pierre Curie ) และมารี คูรี ( Maric Curie ) ได้ทำการทดลองกับธาตุอื่น ๆ อีกหลายชนิด และพบว่าธาตุบางชนิดมีการแผ่รังสีเช่นเดียวกับธาตุยูเรเนียม ปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่องนี้ เรียกว่า กัมมันตภาพรังสี ( radioactivity ) และธาตุที่มีการแผ่รังสีได้เองเรียกว่า ธาตุกัมมันตรังสี (
radioactive element )
จากการศึกษารังสีที่แผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสีทั่วไป

โดยให้รังสีดังกล่าวผ่านเข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กทิศพุ่งเข้าและตั้งฉากกับกระดาษ พบว่า แนวการเคลื่อนที่ของรังสีแยกเป็น 3 แนว ดังรูป 4.1 รังสีที่เบนน้อยและไปทางซ้ายของแนวเดิม เรียกว่า รังสีแอลฟา ( alpha ray ) รังสีที่เบนมากและในทิศตรงข้ามกับรังสีแอลฟา เรียกว่า รังสีบีตา ( beta ray ) ส่วนรังสีที่พุ่งตรงไม่เบี่ยงเบนเลย เรียกว่า รังสีแกมมา ( gamma ray ) และนิยมเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ และ ตามลำดับ
เราทราบแล้วว่า อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเมื่อเคลื่อนที่ในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงกระทำต่ออนุภาคทำให้ทิศการเคลื่อนที่เปลี่ยนไป ทำให้ทราบว่ารังสีแอลฟามีประจุไฟฟ้าบวก รังสีบีตามีประจุไฟฟ้าลบและรังสีแกมมามีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า


การศึกษารังสีทั้งสามชนิด ทำให้ทราบสมบัติต่าง ๆ ของรังสีเหล่านี้เพิ่มขึ้นดังนี้


รังสีแอลฟา มีส่วนประกอบเป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียมมีมวลประมาณ 4u มีประจุไฟฟ้า +2e มีพลังงานประมาณ 6 MeV รังสีแอลฟาสามารถทำให้สารที่รังสีผ่านแตกตัวเป็นไอออนได้ดี จึงเสียพลังงานอย่างรวดเร็ว รังสีแอลฟาจึงมีอำนาจทะลุผ่านน้อยมาก กล่าวคือสามารถวิ่งผ่านอากาศได้ประมาณ 5 เซนติเมตร และเมื่อใช้แผ่นกระดาษบาง ๆ กั้น รังสีแอลฟาก็ทะลุผ่านไม่ได้ เนื่องจากรังสีนี้คือนิวเคลียสที่เป็นอนุภาค บางครั้งจึงเรียกรังสีแอลฟาว่า อนุภาคแอลฟา
รังสีบีตา เป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า -1e มีมวลเากับมวลของอิเล็กตรอน รังสีบีตา คือิเล็กตรอน ( ที่มาจากการสลายของนิวเคลียส มิใช่อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่รอบนิวเคลียส ) มีพลังงานประมาณ 1 MeV รังสีบีตาสามารถวิ่งผ่านไปในอากาศได้ประมาณ 0.5 เมตร อำนาจทะลุผ่านของรังสีบีตาจึงมากกว่ารังสีแอลฟา บางครั้งเรียกรังสีบีตาว่า อนุภาคบีตา

รังสีแกมมา เป็นรังสีที่มีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้ามีสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รังสีแกมมามีพลังงานประมาณ 0.01 MeV สามารถทะลุผ่านแผ่นอะลูมิเนียมที่หนาหลายเซนติเมตรได้ จึงมีอำนาจทุลุผ่านมากที่สุดในบรรดารังสีทั้งสามชนิด

รังสีเบต้า
รังสีบีตาแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ b+ ซึ่งมีประจุไฟฟ้า +1e และเรียกว่า โพซิตรอน ( positron ) กับ b- ซึ่งมีประจุไฟฟ้า -1e และเรียกว่า เนกาตรอน ( negatron ) ธาตุกัมมันตรังสีส่วนมากจะปล่อย b- ออกมา ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงรังสีบีตามักจะหมายถึง b- เสมอ
หน่วยมวลอะตอม ( atomic mass unit )


หน่วยมวลอะตอม เป็นหน่วยที่ใช้วัดมวลของอะตอมหรืออนุภาค โดยนิยามให้ 1 หน่วยมวลอะตอมมีค่าเท่ากับ 1/12 เท่า ของมวลอะตอมคาร์บอน -12 หน่วยมวลอะตอมแทนด้วยสัญลักษณ์ u ดังนั้นจากนิยามจะเขียนได้ว่า

 

สร้างโดย: 
นายอุกฤษฏ์ นันอุมาลี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 316 คน กำลังออนไลน์