• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:fbb323f8e486e1ec64a9f01c82ac2f90' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\">บทที่ </span></b><b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">18 </span></b><b><span lang=\"TH\">ฟิสิกส์อะตอม</span></b></span></span>\n</p>\n<p>\n<b><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า</span></span></b>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ธรรมชาติของ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">“</span><span lang=\"TH\">แสง</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">” </span><span lang=\"TH\">แสดงความประพฤติเป็นทั้ง </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">“</span><span lang=\"TH\">คลื่น</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">” </span><span lang=\"TH\">และ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">“</span><span lang=\"TH\">อนุภาค</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">” </span><span lang=\"TH\">เมื่อเรากล่าวถึงแสงในคุณสมบัติความเป็นคลื่น เราเรียกว่า </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">“</span><span lang=\"TH\">คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">” (Electromagnetic waves) </span><span lang=\"TH\">ซึ่งประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าทำมุมตั้งฉาก</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">และเคลื่อนที่ไปในอวกาศด้วยความเร็ว </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">300,000,000 </span><span lang=\"TH\">เมตร/วินาที</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เมื่อเรากล่าวถึงแสงในคุณสมบัติของอนุภาค</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> <br />\n</span><span lang=\"TH\">เราเรียกว่า </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">“</span><span lang=\"TH\">โฟตอน</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">” (Photon) </span><span lang=\"TH\">เป็นอนุภาคที่ไม่มีมวล แต่เป็นพลังงาน</span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 300pt; height: 108pt\" id=\"_x0000_i1025\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image001.gif\" o:href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/115/science/img/12.gif\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"></span></v:imagedata></v:shape></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ภาพที่ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1 </span><span lang=\"TH\">คุณสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ความยาวคลื่น</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> (wavelength), </span><span lang=\"TH\">ความถี่ (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">frequency) </span><span lang=\"TH\">และความเร็วแสง (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">speed) </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n<v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 8.25pt; height: 10.5pt\" id=\"_x0000_i1026\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\" o:href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/115/science/img/13.gif\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"></span></v:imagedata></v:shape><span style=\"color: #000000; font-size: small\">= c / f </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ความยาวคลื่น =</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ความเร็วแสง / ความถี่</span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">ความยาวคลื่น (</span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 8.25pt; height: 10.5pt\" id=\"_x0000_i1027\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\" o:href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/115/science/img/13.gif\"></v:imagedata></span></span></v:shape><span style=\"color: #000000; font-size: small\">) = </span></span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">ระยะห่างระหว่างยอดคลื่น มีหน่วยเป็นเมตร (</span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">m)<br />\n</span><span lang=\"TH\">ความถี่ (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">f) = </span><span lang=\"TH\">จำนวนคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านจุดที่กำหนด ในระยะเวลา </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1 </span><span lang=\"TH\">วินาที มีหน่วยเป็นเฮิรทซ์</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> (Hz) <br />\n</span><span lang=\"TH\">ความเร็วแสง (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">c) = 300,000,000 </span><span lang=\"TH\">เมตร/วินาที (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">m/s)</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\">ประเภทของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า</span></b><b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></b></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">แสงที่ตามองเห็น (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">Visible light) </span><span lang=\"TH\">เป็นเพียงส่วนหนึ่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ในช่วงซึ่งประสาทตาของมนุษย์สามารถสัมผัสได้ ซึ่งมีความยาวคลื่นอยู่ระหว่าง </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">400 – 700 </span><span lang=\"TH\">นาโนเมตร (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1 </span><span lang=\"TH\">เมตร = </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1,000,000,000 </span><span lang=\"TH\">นาโนเมตร) หากนำแท่งแก้วปริซึม (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">Prism) </span><span lang=\"TH\">มาหักเหแสงอาทิตย์ เราจะเห็นว่าแสงสีขาวถูกหักเหออกเป็นสีม่วง คราม น้ำเงิน เขียว</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เหลือง แสด แดง คล้ายกับสีของรุ้งกินน้ำ เรียกว่า </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">“</span><span lang=\"TH\">สเปคตรัม</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">” (Spectrum) </span><span lang=\"TH\">แสงแต่ละสีมีความยาวคลื่นแตกต่างกัน สีม่วงมีความยาวคลื่นน้อยที่สุด</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> <br />\n</span><span lang=\"TH\">สีแดงมีความยาวคลื่นมากที่สุด</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 375pt; height: 154.5pt\" id=\"_x0000_i1028\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image003.gif\" o:href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/115/science/img/14.gif\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"></span></v:imagedata></v:shape><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ภาพที่ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">2 </span><span lang=\"TH\">ประเภทของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">นอกจากแสงที่ตามองเห็นแล้วยังมีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดอื่นๆ</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ได้แก่ รังสีที่มีความยาวคลื่นถัดจากสีแดงออกไป</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> <br />\n</span><span lang=\"TH\">เราเรียกว่า </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">“</span><span lang=\"TH\">รังสีอินฟราเรด</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">” </span><span lang=\"TH\">หรือ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">“</span><span lang=\"TH\">รังสีความร้อน</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">” </span><span lang=\"TH\">เรามองไม่เห็นรังสีอินฟราเรด แต่เราก็รู้สึกถึงความร้อนได้</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">สัตว์บางชนิด เช่น งู มีประสาทสัมผัสรังสีอินฟราเรด</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">มันสามารถทราบตำแหน่งของเหยื่อได้</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">โดยการสัมผัสรังสีอินฟราเรดซึ่งแผ่ออกมาจากร่างกายของเหยื่อ</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">รังสีที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่าแสงสีม่วงเรียกว่า </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">“</span><span lang=\"TH\">รังสีอุลตราไวโอเล็ต</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">” </span><span lang=\"TH\">แม้ว่าเราจะมองไม่เห็น แต่เมื่อเราตากแดดนานๆ ผิวหนังจะไหม้ด้วยรังสีชนิดนี้</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">นอกจากรังสีอุลตราไวโอเล็ตและรังสีอินฟราเรดแล้ว</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ยังมีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประเภทอื่นๆ</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ซึ่งเรียงลำดับตามความยาวคลื่นได้ดังนี้</span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">รังสีแกมมา (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">Gamma ray) </span><span lang=\"TH\">เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่า </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">0.01 </span><span lang=\"TH\">นาโนเมตร</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">โฟตอนของรังสีแกมมามีพลังงานสูงมาก กำเนิดจากแหล่งพลังงานนิวเคลียร์ เช่น ดาวระเบิด</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">หรือ ระเบิดปรมาณู เป็นอันตรายมากต่อสิ่งมีชีวิต</span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">รังสีเอ็กซ์ (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">X-ray) </span><span lang=\"TH\">มีความยาวคลื่น </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">0.01 - 1 </span><span lang=\"TH\">นาโนเมตร มีแหล่งกำเนิดในธรรมชาติมาจากดวงอาทิตย์</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เราใช้รังสีเอ็กซ์ในทางการแพทย์ เพื่อส่องผ่านเซลล์เนื้อเยื่อ</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แต่ถ้าได้ร่างกายได้รับรังสีนี้มากๆ ก็จะเป็นอันตราย</span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">รังสีอุลตราไวโอเล็ต</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> (Ultraviolet radiation) </span><span lang=\"TH\">มีความยาวคลื่น </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1 - 400 </span><span lang=\"TH\">นาโนเมตร</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">รังสีอุลตราไวโอเล็ตมีอยู่ในแสงอาทิตย์ เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แต่หากได้รับมากเกินไปก็จะทำให้ผิวไหม้ และอาจทำให้เกิดมะเร็งผิวหนัง</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> <br />\n</span><span lang=\"TH\">แสงที่ตามองเห็น (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">Visible light) </span><span lang=\"TH\">มีความยาวคลื่น </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">400 – 700 </span><span lang=\"TH\">นาโนเมตร</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">พลังงานที่แผ่ออกมาจากดวงอาทิตย์ ส่วนมากเป็นรังสีในช่วงนี้</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แสงแดดเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญของโลก</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">และยังช่วยในการสังเคราะห์แสงของพืช</span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">รังสีอินฟราเรด (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">Infrared radiation) </span><span lang=\"TH\">มีความยาวคลื่น </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">700 </span><span lang=\"TH\">นาโนเมตร </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">– 1 </span><span lang=\"TH\">มิลลิเมตร โลกและสิ่งชีวิตแผ่รังสีอินฟราเรดออกมา</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ก๊าซเรือนกระจก เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้ำ ในบรรยากาศดูดซับรังสีนี้ไว้</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ทำให้โลกมีความอบอุ่น เหมาะกับการดำรงชีวิต</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> <br />\n</span><span lang=\"TH\">คลื่นไมโครเวฟ (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">Microwave) </span><span lang=\"TH\">มีความยาวคลื่น </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1 </span><span lang=\"TH\">มิลลิเมตร </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">– 10 </span><span lang=\"TH\">เซนติเมตร ใช้ประโยชน์ในด้านโทรคมนาคมระยะไกล</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">นอกจากนั้นยังนำมาประยุกต์สร้างพลังงานในเตาอบอาหาร</span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">คลื่นวิทยุ (</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">Radio wave) </span><span lang=\"TH\">เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นมากที่สุด</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">คลื่นวิทยุสามารถเดินทางผ่านชั้นบรรยากาศได้ จึงถูกนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการสื่อสาร</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">โทรคมนาคม</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<b><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">สเปคตรัม</span></span></b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">นักดาราศาสตร์ทำการศึกษาเทห์วัตถุท้องฟ้า</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">โดยการศึกษาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่วัตถุแผ่รังสีออกมา</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">สเปคตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทำให้เราทราบถึงคุณสมบัติทางกายภาพของดวงดาว</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">อันได้แก่ อุณหภูมิ และพลังงาน (นอกจากนั้นยังบอกถึง ธาตุ องค์ประกอบทางเคมี</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">และทิศทางการเคลื่อนที่ของเทห์วัตถุ แต่คุณสมบัติเหล่านี้</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">อยู่นอกเหนือที่จะกล่าวในที่นี้)</span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 300pt; height: 167.25pt\" id=\"_x0000_i1029\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image004.gif\" o:href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/115/science/img/15.gif\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"></span></v:imagedata></v:shape><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ภาพที่ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">3 </span><span lang=\"TH\">สเปคตรัมของแสงอาทิตย์</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">สเปคตรัมของแสงอาทิตย์ในภาพที่ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">3 </span><span lang=\"TH\">แสดงให้เห็นถึงระดับความเข้มของพลังงานในช่วงความยาวคลื่นต่างๆ จะเห็นได้ว่า</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ดวงอาทิตย์มีความเข้มของพลังงานมากที่สุดที่ความยาวคลื่น </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">500 </span><span lang=\"TH\">นาโนเมตร</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เส้นสีเข้มบนแถบสเปคตรัม หรือ รอยหยักบนเส้นกราฟ แสดงให้เห็นว่า</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">มีธาตุไฮโดรเจนอยู่ในชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ ดาวแต่ละดวงมีสเปคตรัมไม่เหมือนกัน</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ฉะนั้นสเปคตรัมจึงเป็นเสมือนเส้นลายมือของดาว</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\">ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่น</span></b><b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></b><b><span lang=\"TH\">และอุณหภูมิ</span></b></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">วัตถุทุกชนิดที่มีอุณภูมิสูงกว่า </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">0 </span><span lang=\"TH\">เคลวิน (-</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">273?C) </span><span lang=\"TH\">มีพลังงานภายในตัว และมีการแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ความยาวของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแปรผกผันกับอุณหภูมิ มิใช่มีเพียงสิ่งที่มีอุณหภูมิสูง</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ดังเช่น ดวงอาทิตย์ และไส้หลอดไฟฟ้า จึงมีการแผ่รังสี</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">หากแต่สิ่งที่มีอุณหภูมิต่ำดังเช่น ร่างกายมนุษย์ และน้ำแข็ง</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ก็มีการแผ่รังสีเช่นกัน เพียงแต่ตาของเรามองไม่เห็น</span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">พิจารณาภาพที่ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">4 </span><span lang=\"TH\">เมื่อเราให้พลังงานความความร้อนแก่แท่งโลหะ เมื่อมันเริ่มร้อน มันจะเปล่งแสงสีแดง</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> (</span><span lang=\"TH\">สามารถเห็นได้จากขดลวดของเตาไฟฟ้า) เมื่อมันร้อนมากขึ้น มันจะเปล่งแสงสีเหลือง</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">และ.ในที่สุดมันจะเปล่งแสงสีขาวอมน้ำเงิน</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> <br />\n</span><span lang=\"TH\">พิจารณาเส้นกราฟ จะเห็นว่า</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> <br />\n</span><span lang=\"TH\">เมื่อโลหะมีอุณหภูมิ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">3,000 K </span><span lang=\"TH\">ความยาวคลื่นสูงสุดที่ยอดกราฟจะอยู่ที่ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">1000 nm (</span><span lang=\"TH\">นาโนเมตร) ซึ่งตรงกับย่านรังสีอินฟราเรด ซึ่งสายตาเราไม่สามารถมองเห็นรังสีชนิดนี้</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เราจึงเห็นแท่งโลหะแผ่แสงสีแดง เนื่องจากเป็นความยาวคลื่นที่ต่ำที่สุดแล้ว</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ที่เราสามารถมองเห็นได้</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> <br />\n</span><span lang=\"TH\">เมื่อแท่งเหล็กมีอุณหภูมิ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">5,000 K </span><span lang=\"TH\">ความยาวคลื่นสูงสุดที่ยอดกราฟจะอยู่ที่ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">580 nm </span><span lang=\"TH\">เราจึงมองเห็นแท่งโลหะเปล่งแสงสีเหลือง</span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">เมื่อแท่งเหล็กมีอุณหภูมิ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">10,000 K </span><span lang=\"TH\">ความยาวคลื่นสูงสุดที่ยอดกราฟจะอยู่ที่ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">290 nm </span><span lang=\"TH\">ซึ่งตรงกับย่านรังสี</span></span></span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">อุลตราไวโอเล็ก ซึ่งสายตาเราไม่สามารถมองเห็นรังสีชนิดนี้</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เราจึงเห็นแท่งโลหะแผ่แสงสีม่วง เนื่องจากเป็นความยาวคลื่นที่สูงที่สุดแล้ว</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ที่เราสามารถมองเห็นได้</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 375pt; height: 249pt\" id=\"_x0000_i1030\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.gif\" o:href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/115/science/img/16.gif\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"></span></v:imagedata></v:shape><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ภาพที่ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">4 </span><span lang=\"TH\">ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นกับอุณหภูมิ</span></span></span>\n</p>\n<p><span><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman; color: #000000; font-size: small\"> </span></o:p></span> <o:p><span style=\"font-family: Times New Roman; color: #000000; font-size: small\"> </span></o:p> </p>\n', created = 1729485700, expire = 1729572100, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:fbb323f8e486e1ec64a9f01c82ac2f90' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฟิสิกส์ ม.6 บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม 1

บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ธรรมชาติของ แสงแสดงความประพฤติเป็นทั้ง คลื่นและ อนุภาคเมื่อเรากล่าวถึงแสงในคุณสมบัติความเป็นคลื่น เราเรียกว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า” (Electromagnetic waves) ซึ่งประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าทำมุมตั้งฉาก และเคลื่อนที่ไปในอวกาศด้วยความเร็ว 300,000,000 เมตร/วินาที เมื่อเรากล่าวถึงแสงในคุณสมบัติของอนุภาค
เราเรียกว่า โฟตอน” (Photon) เป็นอนุภาคที่ไม่มีมวล แต่เป็นพลังงาน

ภาพที่ 1 คุณสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ความยาวคลื่น (wavelength), ความถี่ (frequency) และความเร็วแสง (speed)


= c / f

ความยาวคลื่น = ความเร็วแสง / ความถี่
ความยาวคลื่น ( ) = ระยะห่างระหว่างยอดคลื่น มีหน่วยเป็นเมตร (m)
ความถี่ (f) = จำนวนคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านจุดที่กำหนด ในระยะเวลา 1 วินาที มีหน่วยเป็นเฮิรทซ์
(Hz)
ความเร็วแสง (c) = 300,000,000 เมตร/วินาที (m/s)


ประเภทของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
แสงที่ตามองเห็น (Visible light) เป็นเพียงส่วนหนึ่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ในช่วงซึ่งประสาทตาของมนุษย์สามารถสัมผัสได้ ซึ่งมีความยาวคลื่นอยู่ระหว่าง 400 – 700 นาโนเมตร (1 เมตร = 1,000,000,000 นาโนเมตร) หากนำแท่งแก้วปริซึม (Prism) มาหักเหแสงอาทิตย์ เราจะเห็นว่าแสงสีขาวถูกหักเหออกเป็นสีม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง คล้ายกับสีของรุ้งกินน้ำ เรียกว่า สเปคตรัม” (Spectrum) แสงแต่ละสีมีความยาวคลื่นแตกต่างกัน สีม่วงมีความยาวคลื่นน้อยที่สุด
สีแดงมีความยาวคลื่นมากที่สุด


ภาพที่ 2 ประเภทของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

นอกจากแสงที่ตามองเห็นแล้วยังมีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดอื่นๆ ได้แก่ รังสีที่มีความยาวคลื่นถัดจากสีแดงออกไป
เราเรียกว่า รังสีอินฟราเรดหรือ รังสีความร้อนเรามองไม่เห็นรังสีอินฟราเรด แต่เราก็รู้สึกถึงความร้อนได้ สัตว์บางชนิด เช่น งู มีประสาทสัมผัสรังสีอินฟราเรด มันสามารถทราบตำแหน่งของเหยื่อได้ โดยการสัมผัสรังสีอินฟราเรดซึ่งแผ่ออกมาจากร่างกายของเหยื่อ รังสีที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่าแสงสีม่วงเรียกว่า รังสีอุลตราไวโอเล็ตแม้ว่าเราจะมองไม่เห็น แต่เมื่อเราตากแดดนานๆ ผิวหนังจะไหม้ด้วยรังสีชนิดนี้ นอกจากรังสีอุลตราไวโอเล็ตและรังสีอินฟราเรดแล้ว ยังมีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประเภทอื่นๆ ซึ่งเรียงลำดับตามความยาวคลื่นได้ดังนี้

รังสีแกมมา (Gamma ray) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 0.01 นาโนเมตร โฟตอนของรังสีแกมมามีพลังงานสูงมาก กำเนิดจากแหล่งพลังงานนิวเคลียร์ เช่น ดาวระเบิด หรือ ระเบิดปรมาณู เป็นอันตรายมากต่อสิ่งมีชีวิต
รังสีเอ็กซ์ (X-ray) มีความยาวคลื่น 0.01 - 1 นาโนเมตร มีแหล่งกำเนิดในธรรมชาติมาจากดวงอาทิตย์ เราใช้รังสีเอ็กซ์ในทางการแพทย์ เพื่อส่องผ่านเซลล์เนื้อเยื่อ แต่ถ้าได้ร่างกายได้รับรังสีนี้มากๆ ก็จะเป็นอันตราย
รังสีอุลตราไวโอเล็ต (Ultraviolet radiation) มีความยาวคลื่น 1 - 400 นาโนเมตร รังสีอุลตราไวโอเล็ตมีอยู่ในแสงอาทิตย์ เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย แต่หากได้รับมากเกินไปก็จะทำให้ผิวไหม้ และอาจทำให้เกิดมะเร็งผิวหนัง
แสงที่ตามองเห็น (Visible light) มีความยาวคลื่น 400 – 700 นาโนเมตร พลังงานที่แผ่ออกมาจากดวงอาทิตย์ ส่วนมากเป็นรังสีในช่วงนี้ แสงแดดเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญของโลก และยังช่วยในการสังเคราะห์แสงของพืช

รังสีอินฟราเรด (Infrared radiation) มีความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร – 1 มิลลิเมตร โลกและสิ่งชีวิตแผ่รังสีอินฟราเรดออกมา ก๊าซเรือนกระจก เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้ำ ในบรรยากาศดูดซับรังสีนี้ไว้ ทำให้โลกมีความอบอุ่น เหมาะกับการดำรงชีวิต
คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) มีความยาวคลื่น 1 มิลลิเมตร – 10 เซนติเมตร ใช้ประโยชน์ในด้านโทรคมนาคมระยะไกล นอกจากนั้นยังนำมาประยุกต์สร้างพลังงานในเตาอบอาหาร

คลื่นวิทยุ (Radio wave) เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นมากที่สุด คลื่นวิทยุสามารถเดินทางผ่านชั้นบรรยากาศได้ จึงถูกนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการสื่อสาร โทรคมนาคม

สเปคตรัม
นักดาราศาสตร์ทำการศึกษาเทห์วัตถุท้องฟ้า โดยการศึกษาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่วัตถุแผ่รังสีออกมา สเปคตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทำให้เราทราบถึงคุณสมบัติทางกายภาพของดวงดาว อันได้แก่ อุณหภูมิ และพลังงาน (นอกจากนั้นยังบอกถึง ธาตุ องค์ประกอบทางเคมี และทิศทางการเคลื่อนที่ของเทห์วัตถุ แต่คุณสมบัติเหล่านี้ อยู่นอกเหนือที่จะกล่าวในที่นี้)


ภาพที่ 3 สเปคตรัมของแสงอาทิตย์

สเปคตรัมของแสงอาทิตย์ในภาพที่ 3 แสดงให้เห็นถึงระดับความเข้มของพลังงานในช่วงความยาวคลื่นต่างๆ จะเห็นได้ว่า ดวงอาทิตย์มีความเข้มของพลังงานมากที่สุดที่ความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร เส้นสีเข้มบนแถบสเปคตรัม หรือ รอยหยักบนเส้นกราฟ แสดงให้เห็นว่า มีธาตุไฮโดรเจนอยู่ในชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ ดาวแต่ละดวงมีสเปคตรัมไม่เหมือนกัน ฉะนั้นสเปคตรัมจึงเป็นเสมือนเส้นลายมือของดาว

ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่น และอุณหภูมิ
วัตถุทุกชนิดที่มีอุณภูมิสูงกว่า 0 เคลวิน (-273?C) มีพลังงานภายในตัว และมีการแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ความยาวของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแปรผกผันกับอุณหภูมิ มิใช่มีเพียงสิ่งที่มีอุณหภูมิสูง ดังเช่น ดวงอาทิตย์ และไส้หลอดไฟฟ้า จึงมีการแผ่รังสี หากแต่สิ่งที่มีอุณหภูมิต่ำดังเช่น ร่างกายมนุษย์ และน้ำแข็ง ก็มีการแผ่รังสีเช่นกัน เพียงแต่ตาของเรามองไม่เห็น
พิจารณาภาพที่ 4 เมื่อเราให้พลังงานความความร้อนแก่แท่งโลหะ เมื่อมันเริ่มร้อน มันจะเปล่งแสงสีแดง (สามารถเห็นได้จากขดลวดของเตาไฟฟ้า) เมื่อมันร้อนมากขึ้น มันจะเปล่งแสงสีเหลือง และ.ในที่สุดมันจะเปล่งแสงสีขาวอมน้ำเงิน
พิจารณาเส้นกราฟ จะเห็นว่า

เมื่อโลหะมีอุณหภูมิ 3,000 K ความยาวคลื่นสูงสุดที่ยอดกราฟจะอยู่ที่ 1000 nm (นาโนเมตร) ซึ่งตรงกับย่านรังสีอินฟราเรด ซึ่งสายตาเราไม่สามารถมองเห็นรังสีชนิดนี้ เราจึงเห็นแท่งโลหะแผ่แสงสีแดง เนื่องจากเป็นความยาวคลื่นที่ต่ำที่สุดแล้ว ที่เราสามารถมองเห็นได้

เมื่อแท่งเหล็กมีอุณหภูมิ 5,000 K ความยาวคลื่นสูงสุดที่ยอดกราฟจะอยู่ที่ 580 nm เราจึงมองเห็นแท่งโลหะเปล่งแสงสีเหลือง

เมื่อแท่งเหล็กมีอุณหภูมิ 10,000 K ความยาวคลื่นสูงสุดที่ยอดกราฟจะอยู่ที่ 290 nm ซึ่งตรงกับย่านรังสี
อุลตราไวโอเล็ก ซึ่งสายตาเราไม่สามารถมองเห็นรังสีชนิดนี้ เราจึงเห็นแท่งโลหะแผ่แสงสีม่วง เนื่องจากเป็นความยาวคลื่นที่สูงที่สุดแล้ว ที่เราสามารถมองเห็นได้


ภาพที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นกับอุณหภูมิ

   

สร้างโดย: 
นายอุกฤษฏ์ นันอุมาลี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 401 คน กำลังออนไลน์