• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1e2222ab858724b3eca21a8e1bac78de' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nป่าไม้ เป็นระบบนิเวศซึ่งมีการปกคลุมของต้นไม้อย่างหนาแน่นมากหรือน้อย และมีขนาดเพียงพอที่จะทำให้เกิด ภูมิอากาศจุลภาค (micro climate) และสภาพทางนิเวศวิทยาซึ่งแตกต่างอย่างชัดเจนจากพื้นที่นอกป่า โดยเฉพาะในเรื่องของอุณหภูมิ ความชื้น แสง ลม ความชื้นสัมพัทธ์ และดิน มีองค์ประกอบและสิ่งแวดล้อมต่างๆ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน ให้คงสภาพความเป็นป่าไม้ไว้ เช่น ภูเขา ลำน้ำ ลำห้วย ลำธาร สัตว์ป่า ดิน หิน พืชชั้นสูง พืชชั้นต่ำ แมลง ทำให้เกิดระบบนิเวศหนึ่งซึ่งมีความสลับซับซ้อน   \n</p>\n<p>\n<br />\nป่าไม้จึงเป็นสังคมสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วย พืชพรรณน้อยใหญ่นานาชนิด ขึ้นอยู่ร่วมกันอย่างเกื้อกูลและเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น สัตว์ป่า จุลินทรีย์ในดิน ตลอดจนสิ่งไม่มีชีวิต เช่น ดิน หิน น้ำ แร่ธาตุ ทำให้เกิดระบบนิเวศหนึ่ง ซึ่งมีความสลับซับซ้อนซึ่งจะทำให้ภูมิอากาศ และสภาพแวดล้อมแตกต่างจากภายนอกป่าอย่างชัดเจน จึงสามารถแบ่งองค์ประกอบของป่าไม้ออกเป็น 2 ส่วน หลักๆ ได้แก่ ส่วนที่อยู่เหนือพื้นดิน ได้แก่ ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม ไม้ล้มลุก หญ้า ไลเคน และเฟิร์นต่างๆ รวมทั้งสัตว์ป่าที่อาศัยอยู่บนดิน เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก นก ตลอดจน แมลงต่างๆ และส่วนที่อยู่ใต้ดิน ได้แก่ ดิน หิน น้ำในดิน และจุลินทรีย์ในดิน เป็นต้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nในประเทศไทยได้แบ่งประเภทของป่าออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ด้วยกันคือ \n</p>\n<ul>\n<li> ป่าไม่ผลัดใบ (evergreen forests) </li>\n</ul>\n<p>\n                 1. ป่าดิบชื้น\n</p>\n<p>\n                 2. ป่าดิบแล้ง\n</p>\n<p>\n                 3. ป่าดิบเขา\n</p>\n<p>\n                 4. ป่าสนเขา\n</p>\n<p>\n                 5. ป่าชายเลน\n</p>\n<p>\n                 6. ป่าพรุ\n</p>\n<ul>\n<li> ป่าผลัดใบ (deciduous forests)  </li>\n</ul>\n<p>\n                1. ป่าเบญจพรรณ\n</p>\n<p>\n                2. ป่าเต็งรัง<br />\n  <br />\n    <br />\n  <br />\n                     \n</p>\n', created = 1729486753, expire = 1729573153, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1e2222ab858724b3eca21a8e1bac78de' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบนิเวศป่าไม้

 

 

ป่าไม้ เป็นระบบนิเวศซึ่งมีการปกคลุมของต้นไม้อย่างหนาแน่นมากหรือน้อย และมีขนาดเพียงพอที่จะทำให้เกิด ภูมิอากาศจุลภาค (micro climate) และสภาพทางนิเวศวิทยาซึ่งแตกต่างอย่างชัดเจนจากพื้นที่นอกป่า โดยเฉพาะในเรื่องของอุณหภูมิ ความชื้น แสง ลม ความชื้นสัมพัทธ์ และดิน มีองค์ประกอบและสิ่งแวดล้อมต่างๆ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน ให้คงสภาพความเป็นป่าไม้ไว้ เช่น ภูเขา ลำน้ำ ลำห้วย ลำธาร สัตว์ป่า ดิน หิน พืชชั้นสูง พืชชั้นต่ำ แมลง ทำให้เกิดระบบนิเวศหนึ่งซึ่งมีความสลับซับซ้อน   


ป่าไม้จึงเป็นสังคมสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วย พืชพรรณน้อยใหญ่นานาชนิด ขึ้นอยู่ร่วมกันอย่างเกื้อกูลและเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น สัตว์ป่า จุลินทรีย์ในดิน ตลอดจนสิ่งไม่มีชีวิต เช่น ดิน หิน น้ำ แร่ธาตุ ทำให้เกิดระบบนิเวศหนึ่ง ซึ่งมีความสลับซับซ้อนซึ่งจะทำให้ภูมิอากาศ และสภาพแวดล้อมแตกต่างจากภายนอกป่าอย่างชัดเจน จึงสามารถแบ่งองค์ประกอบของป่าไม้ออกเป็น 2 ส่วน หลักๆ ได้แก่ ส่วนที่อยู่เหนือพื้นดิน ได้แก่ ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม ไม้ล้มลุก หญ้า ไลเคน และเฟิร์นต่างๆ รวมทั้งสัตว์ป่าที่อาศัยอยู่บนดิน เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก นก ตลอดจน แมลงต่างๆ และส่วนที่อยู่ใต้ดิน ได้แก่ ดิน หิน น้ำในดิน และจุลินทรีย์ในดิน เป็นต้น

 

ในประเทศไทยได้แบ่งประเภทของป่าออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ด้วยกันคือ 

  •  ป่าไม่ผลัดใบ (evergreen forests) 

                 1. ป่าดิบชื้น

                 2. ป่าดิบแล้ง

                 3. ป่าดิบเขา

                 4. ป่าสนเขา

                 5. ป่าชายเลน

                 6. ป่าพรุ

  •  ป่าผลัดใบ (deciduous forests)  

                1. ป่าเบญจพรรณ

                2. ป่าเต็งรัง
  
    
  
                     

สร้างโดย: 
ครูวรรณภา ศรีวิไลสกุลวงศ์และน.ส.วรลักษณ์ พินัยนิติศาสตร์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 391 คน กำลังออนไลน์