• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:63e92fa22ada8748cd446aa61ae341e9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 14pt\" lang=\"TH\">บทที่ </span></b><b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'; font-size: 14pt\">15 </span></b><b><span style=\"font-size: 14pt\" lang=\"TH\">ไฟฟ้าสถิต</span></b><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\">ไฟฟ้าสถิต (</span></b><b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">Static electricity)</span></b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> </span><span lang=\"TH\">เป็นปรากฏการณ์ที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากัน</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ปกติจะแสดงในรูปการดึงดูด</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">, </span><span lang=\"TH\">การผลักกัน และเกิดประกายไฟ</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><b><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">การเกิดไฟฟ้าสถิต</span></span></b><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">การที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากันทำให้เกิดแรงดึงดูดเมื่อวัตถุทั้ง</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\"> 2 </span><span lang=\"TH\">ชิ้นมีประจุต่างชนิดกัน หรือเกิดแรงผลักกันเมื่อวัสดุทั้ง </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">2 </span><span lang=\"TH\">ชิ้นมีประจุชนิดเดียวกัน เราสามารถสร้างไฟฟ้าสถิตโดยการนำผิวสัมผัสของวัสดุ </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">2 </span><span lang=\"TH\">ชิ้นมาขัดสีกัน</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">พลังงานที่เกิดจากการขัดสีกันทำให้ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุจะเกิดการแลกเปลี่ยนกัน</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">โดยจะเกิดกับวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า ฉนวน ตัวอย่างเช่น ยาง</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">, </span><span lang=\"TH\">พลาสติก และแก้ว</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">สำหรับวัสดุประเภทที่นำไฟฟ้านั้นโอกาสเกิดปรากฏการณ์ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุไม่เท่ากันนั้นยากแต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เช่น กรณีที่ผิวโลหะถูกกระแทกด้วยของแข็งหรือของเหลวที่ไม่เป็นตัวนำ</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ประจุที่เกิดการเคลื่อนย้ายระหว่างการสัมผัสจะถูกเก็บบนผิวของวัสดุทั้ง </span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\">2 </span><span lang=\"TH\">ชิ้น</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ไฟฟ้าสถิตเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่คุ้นเคยสำหรับประเทศที่มีอากาศหนาว</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ในฤดูหนาวสำหรับประเทศเหล่านี้ความชื้นในอากาศจะต่ำมาก</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">การเกิดไฟฟ้าสถิตบนผิวหนังจะเกิดขึ้นง่ายมาก</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ดังนั้นเมื่อเกิดการสัมผัสกับวัสดุประเภทตัวนำจะทำให้เกิดการถ่ายเทประจุไปยังตัวนำอย่างรวดเร็วทำให้เกิดอาการสะดุ้งได้</span><span style=\"font-family: \'mS Sans Serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">และนอกจากนั้นยังสามารถทำความเสียหายให้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์</span></span></span>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman; color: #000000; font-size: small\"> </span></o:p> </p>\n<p style=\"text-align: center; margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 201.75pt; height: 207.75pt\" id=\"_x0000_i1025\"><v:imagedata o:title=\"15\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image001.gif\"></v:imagedata></v:shape>\n</p>\n', created = 1729486899, expire = 1729573299, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:63e92fa22ada8748cd446aa61ae341e9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฟิสิกส์ ม.6 บทที่ 15 ไฟฟ้าสถิต

บทที่ 15 ไฟฟ้าสถิต

ไฟฟ้าสถิต (Static electricity) เป็นปรากฏการณ์ที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากัน ปกติจะแสดงในรูปการดึงดูด, การผลักกัน และเกิดประกายไฟ


การเกิดไฟฟ้าสถิต
การที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากันทำให้เกิดแรงดึงดูดเมื่อวัตถุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุต่างชนิดกัน หรือเกิดแรงผลักกันเมื่อวัสดุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุชนิดเดียวกัน เราสามารถสร้างไฟฟ้าสถิตโดยการนำผิวสัมผัสของวัสดุ 2 ชิ้นมาขัดสีกัน พลังงานที่เกิดจากการขัดสีกันทำให้ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุจะเกิดการแลกเปลี่ยนกัน โดยจะเกิดกับวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า ฉนวน ตัวอย่างเช่น ยาง, พลาสติก และแก้ว สำหรับวัสดุประเภทที่นำไฟฟ้านั้นโอกาสเกิดปรากฏการณ์ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุไม่เท่ากันนั้นยากแต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้ เช่น กรณีที่ผิวโลหะถูกกระแทกด้วยของแข็งหรือของเหลวที่ไม่เป็นตัวนำ ประจุที่เกิดการเคลื่อนย้ายระหว่างการสัมผัสจะถูกเก็บบนผิวของวัสดุทั้ง 2 ชิ้น

ไฟฟ้าสถิตเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่คุ้นเคยสำหรับประเทศที่มีอากาศหนาว ในฤดูหนาวสำหรับประเทศเหล่านี้ความชื้นในอากาศจะต่ำมาก การเกิดไฟฟ้าสถิตบนผิวหนังจะเกิดขึ้นง่ายมาก ดังนั้นเมื่อเกิดการสัมผัสกับวัสดุประเภทตัวนำจะทำให้เกิดการถ่ายเทประจุไปยังตัวนำอย่างรวดเร็วทำให้เกิดอาการสะดุ้งได้ และนอกจากนั้นยังสามารถทำความเสียหายให้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

 

สร้างโดย: 
นายอุกฤษฏ์ นันอุมาลี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 383 คน กำลังออนไลน์