• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e4aa71b30e4c389e4092e1d50a8a1f4c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h1 class=\"title\" align=\"center\"><u><span style=\"color: #800000\"><b>ตะคริว</b></span></u></h1>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20111/pictakew.jpg\" height=\"350\" width=\"300\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nภาพจาก <a href=\"http://sufficiencyeconomy.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A7.jpg\" title=\"http://sufficiencyeconomy.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A7.jpg\">http://sufficiencyeconomy.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%95%E0%B8%B0...</a>\n</p>\n<p>\n<b> <span style=\"color: #008000\">ตะคริวมักเกิดจากการที่เส้นประสาทที่สั่งให้กล้ามเนื้อหดตัว ทำงานมากผิดปกติ มีการปล่อยสัญญาณความถี่ออกมาเพิ่มมากขึ้น จนกล้ามเนื้อมีอาการกระตุกหรือสั่นนำมาก่อน แล้วจึงเกิดการหดตัวซ้ำ ๆ แรง ๆ อย่างต่อเนื่อง จนเกร็งค้างไว้เป็นตะคริวในที่สุด </span></b>\n</p>\n<p>\n<br />\n<b>          <span style=\"color: #008000\">ตะคริวเกิดได้จากหลายสาเหตุ ได้แก่ </span></b><br />\n<b>- การใช้กล้ามเนื้อนั้นซ้ำ ๆ ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานหรือการทำงานหนักจนกล้ามเนื้ออ่อนล้า จะทำให้เกิดตะคริวได้ง่าย เช่น นักว่ายน้ำจะเป็นตะคริวที่น่องได้ง่าย นักเปียโนมักจะเป็นตะคริวที่มือและแขน เป็นต้น <br />\n- ภาวะขาดเกลือแร่และสารน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกลือโซเดียม และโปแตสเซียม ได้แก่ ภาวะท้องเดินอาเจียน เสียเหงื่อมาก ๆ ถ้ารับประทานน้ำหรือเกลือแร่เข้าไปชดเชยไม่เพียงพอ จะเกิดเป็นตะคริวได้ง่าย <br />\n- การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อ อาจเกิดจากการกระแทกกล้ามเนื้อฟกช้ำ และภาวะกล้ามเนื้อขาดการยืดหยุ่น หากออกกำลังกายโดยไม่ได้วอร์มอัพ กล้ามเนื้อที่ตึงอย่างรวดเร็วจากการออกกำลังจะเกิดตะคริวได้บ่อย <br />\n- การนอน นั่ง หรือยืนในท่าที่ไม่สะดวกนาน ๆ ทำให้การไหลเวียนเลือดไม่สะดวก เกิดตะคริวได้ง่ายเช่นกัน <br />\n- ผู้ที่มีภาวะหลอดเลือดแดงแข็งหรือหลอดเลือดแดงตีบต้น เช่น ผู้สูงอายุ มีโอกาสเป็นตะคริวได้บ่อยขึ้นจากการไหลเวียนเลือดไปที่ขาไม่ดี <br />\n- ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไต หลังทำการล้างไตจะเกิดเป็นตะคริวได้ง่าย อาจเนื่องมาจากสารน้ำในร่างกายน้อยเกินไป หรือความเข้มข้นของเกลือแร่หรือน้ำตาลในร่างกายน้อยเกินไป <br />\n- ยาบางชนิดอาจทำให้เกิดอาการตะคริวได้ เช่น ยาลดความดันโลหิตสูง กลุ่ม Nifedipine, ยาลดไขมันชนิด Clofibrate, ยาขยายหลอดลม เป็นต้น โดยถ้าหยุดยาหรือเปลี่ยนยาอาการตะคริวก็จะหายไป <br />\n- โรคระบบประสาทบางชนิดที่มีความผิดปกติของเส้นประสาทที่มาสั่งงานกล้ามเนื้อ หรือโรคของกล้ามเนื้อเอง จะมีอาการตะคริวได้บ่อยขึ้น <br />\n</b><br />\n<br />\n<b><span style=\"color: #008000\">การปฐมพยาบาลเบื้องต้น คือ การค่อยๆ เหยียดกล้ามเนื้อมัดนั้น ๆ อย่างนุ่มนวล จนกระทั่งหายปวดเกร็ง อาจใช้เวลาประมาณ 1-2 นาที แล้วลองปล่อยมือดูว่ายังเกร็งอยู่หรือไม่ ถ้ายังเกร็งอยู่ให้ทำซ้ำอีกจนกระทั่งไม่มีอาการ ไม่ควรบีบนวดแรงๆ ขณะกล้ามเนื้อเกร็งตัว เนื่องจากอาจทำให้กล้ามเนื้อเจ็บและเป็นตะคริวซ้ำได้อีก การใช้น้ำอุ่นหรือกระเป๋าน้ำร้อนประคบจะเป็นการขยายเส้นเลือดทำให้เลือดไหล เวียนดีขึ้นทำให้อาการตะคริวดีขึ้น</span> </b>\n</p>\n<p>\n<br />\n<b> <u>ถ้าเป็นตะคริวที่น่อง</u> : ให้เหยียดขาข้างที่เป็นตะคริวให้ตรง ใช้มือข้างหนึ่งประคองส้นเท้า และอีกข้างหนึ่งค่อย ๆ ดันปลายเท้าขึ้นลงให้เต็มที่อย่างช้า ๆ ประมาณ 5 นาที และนวดเบา ๆ ที่น่อง หรืออาจทาครีมหรือน้ำมัน เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดบริเวณนั้น <br />\n<u>ถ้าเป็นตะคริวที่ต้นขา</u> : ให้เหยียดขาข้างที่เป็นตะคริวให้ตรง ใช้มือข้างหนึ่งประคองส้นเท้า และอีกข้างหนึ่งกดลงบนหัวเข่า จากนั้นค่อยๆ นวดบริเวณที่เป็นตะคริวเบาๆ <br />\n<u>ถ้าเป็นตะคริวที่นิ้วเท้า</u> : ให้เหยียดนิ้วเท้าให้ตรงและลุกขึ้นยืนเขย่งเท้า จากนั้นค่อยๆ นวดบริเวณนิ้วเท้าเบาๆ <br />\n<u>ถ้าเป็นที่นิ้วมือ</u> : ให้เหยียดนิ้วมือออก แล้วค่อยๆ นวดบริเวณนิ้วมือเบาๆ<br />\n</b>\n</p>\n<p>\n<br />\n<b>         <span style=\"color: #008000\"> การป้องกันตะคริว</span></b><br />\n<b>- ควรดื่มน้ำสะอาดอย่างเพียงพอ วันละ 6-8 แก้ว <br />\n- ควรบริหารกล้ามเนื้อแบบยืดเหยียด (Stretching Exercise) โดยเฉพาะกล้ามเนื้อที่เป็นตะคริวบ่อยๆ ควรทำด้วยแรงปานกลาง ให้เกิดความรู้สึกตึงๆ ที่กล้ามเนื้อเหมือนถูกดึง แต่ไม่ถึงกับปวด <br />\n- ควรออกกำลังกายสม่ำเสมอ จะทำให้กล้ามเนื้อและร่างกายแข็งแรง โดยให้วอร์มอัพทุกครั้งก่อนออกกำลังกาย <br />\n- ถ้าเป็นตะคริวในขณะนอนตอนกลางคืนบ่อยๆ ควรนอนยกขาสูง โดยใช้หมอนรองขา <br />\n- ถ้าเป็นๆ หายๆ บ่อยๆ โดยเฉพาะเวลาเดินนานๆ ควรปรึกษาแพทย์ ตรวจหาสาเหตุ อาจมีความผิดปกติในระบบไหลเวียนเลือดที่ขาหรือภาวะหลอดเลือดแข็งตัวจากเบา หวาน ความดันโลหิตสูงหรือโรคอื่นๆ</b>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/42819\"><img src=\"/files/u20111/Home-1_0.jpg\" height=\"159\" width=\"159\" /></a>                                                                              <a href=\"/node/50474\"><img src=\"/files/u20111/backtomain.jpg\" height=\"196\" width=\"138\" /></a>\n</p>\n', created = 1727735177, expire = 1727821577, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e4aa71b30e4c389e4092e1d50a8a1f4c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เพิ่มเติมเกี่ยวกับตะคริว

ตะคริว

 

ภาพจาก http://sufficiencyeconomy.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%95%E0%B8%B0...

ตะคริวมักเกิดจากการที่เส้นประสาทที่สั่งให้กล้ามเนื้อหดตัว ทำงานมากผิดปกติ มีการปล่อยสัญญาณความถี่ออกมาเพิ่มมากขึ้น จนกล้ามเนื้อมีอาการกระตุกหรือสั่นนำมาก่อน แล้วจึงเกิดการหดตัวซ้ำ ๆ แรง ๆ อย่างต่อเนื่อง จนเกร็งค้างไว้เป็นตะคริวในที่สุด


          ตะคริวเกิดได้จากหลายสาเหตุ ได้แก่
- การใช้กล้ามเนื้อนั้นซ้ำ ๆ ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานหรือการทำงานหนักจนกล้ามเนื้ออ่อนล้า จะทำให้เกิดตะคริวได้ง่าย เช่น นักว่ายน้ำจะเป็นตะคริวที่น่องได้ง่าย นักเปียโนมักจะเป็นตะคริวที่มือและแขน เป็นต้น
- ภาวะขาดเกลือแร่และสารน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกลือโซเดียม และโปแตสเซียม ได้แก่ ภาวะท้องเดินอาเจียน เสียเหงื่อมาก ๆ ถ้ารับประทานน้ำหรือเกลือแร่เข้าไปชดเชยไม่เพียงพอ จะเกิดเป็นตะคริวได้ง่าย
- การบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อ อาจเกิดจากการกระแทกกล้ามเนื้อฟกช้ำ และภาวะกล้ามเนื้อขาดการยืดหยุ่น หากออกกำลังกายโดยไม่ได้วอร์มอัพ กล้ามเนื้อที่ตึงอย่างรวดเร็วจากการออกกำลังจะเกิดตะคริวได้บ่อย
- การนอน นั่ง หรือยืนในท่าที่ไม่สะดวกนาน ๆ ทำให้การไหลเวียนเลือดไม่สะดวก เกิดตะคริวได้ง่ายเช่นกัน
- ผู้ที่มีภาวะหลอดเลือดแดงแข็งหรือหลอดเลือดแดงตีบต้น เช่น ผู้สูงอายุ มีโอกาสเป็นตะคริวได้บ่อยขึ้นจากการไหลเวียนเลือดไปที่ขาไม่ดี
- ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไต หลังทำการล้างไตจะเกิดเป็นตะคริวได้ง่าย อาจเนื่องมาจากสารน้ำในร่างกายน้อยเกินไป หรือความเข้มข้นของเกลือแร่หรือน้ำตาลในร่างกายน้อยเกินไป
- ยาบางชนิดอาจทำให้เกิดอาการตะคริวได้ เช่น ยาลดความดันโลหิตสูง กลุ่ม Nifedipine, ยาลดไขมันชนิด Clofibrate, ยาขยายหลอดลม เป็นต้น โดยถ้าหยุดยาหรือเปลี่ยนยาอาการตะคริวก็จะหายไป
- โรคระบบประสาทบางชนิดที่มีความผิดปกติของเส้นประสาทที่มาสั่งงานกล้ามเนื้อ หรือโรคของกล้ามเนื้อเอง จะมีอาการตะคริวได้บ่อยขึ้น


การปฐมพยาบาลเบื้องต้น คือ การค่อยๆ เหยียดกล้ามเนื้อมัดนั้น ๆ อย่างนุ่มนวล จนกระทั่งหายปวดเกร็ง อาจใช้เวลาประมาณ 1-2 นาที แล้วลองปล่อยมือดูว่ายังเกร็งอยู่หรือไม่ ถ้ายังเกร็งอยู่ให้ทำซ้ำอีกจนกระทั่งไม่มีอาการ ไม่ควรบีบนวดแรงๆ ขณะกล้ามเนื้อเกร็งตัว เนื่องจากอาจทำให้กล้ามเนื้อเจ็บและเป็นตะคริวซ้ำได้อีก การใช้น้ำอุ่นหรือกระเป๋าน้ำร้อนประคบจะเป็นการขยายเส้นเลือดทำให้เลือดไหล เวียนดีขึ้นทำให้อาการตะคริวดีขึ้น


ถ้าเป็นตะคริวที่น่อง : ให้เหยียดขาข้างที่เป็นตะคริวให้ตรง ใช้มือข้างหนึ่งประคองส้นเท้า และอีกข้างหนึ่งค่อย ๆ ดันปลายเท้าขึ้นลงให้เต็มที่อย่างช้า ๆ ประมาณ 5 นาที และนวดเบา ๆ ที่น่อง หรืออาจทาครีมหรือน้ำมัน เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดบริเวณนั้น
ถ้าเป็นตะคริวที่ต้นขา : ให้เหยียดขาข้างที่เป็นตะคริวให้ตรง ใช้มือข้างหนึ่งประคองส้นเท้า และอีกข้างหนึ่งกดลงบนหัวเข่า จากนั้นค่อยๆ นวดบริเวณที่เป็นตะคริวเบาๆ
ถ้าเป็นตะคริวที่นิ้วเท้า : ให้เหยียดนิ้วเท้าให้ตรงและลุกขึ้นยืนเขย่งเท้า จากนั้นค่อยๆ นวดบริเวณนิ้วเท้าเบาๆ
ถ้าเป็นที่นิ้วมือ : ให้เหยียดนิ้วมือออก แล้วค่อยๆ นวดบริเวณนิ้วมือเบาๆ


          การป้องกันตะคริว
- ควรดื่มน้ำสะอาดอย่างเพียงพอ วันละ 6-8 แก้ว
- ควรบริหารกล้ามเนื้อแบบยืดเหยียด (Stretching Exercise) โดยเฉพาะกล้ามเนื้อที่เป็นตะคริวบ่อยๆ ควรทำด้วยแรงปานกลาง ให้เกิดความรู้สึกตึงๆ ที่กล้ามเนื้อเหมือนถูกดึง แต่ไม่ถึงกับปวด
- ควรออกกำลังกายสม่ำเสมอ จะทำให้กล้ามเนื้อและร่างกายแข็งแรง โดยให้วอร์มอัพทุกครั้งก่อนออกกำลังกาย
- ถ้าเป็นตะคริวในขณะนอนตอนกลางคืนบ่อยๆ ควรนอนยกขาสูง โดยใช้หมอนรองขา
- ถ้าเป็นๆ หายๆ บ่อยๆ โดยเฉพาะเวลาเดินนานๆ ควรปรึกษาแพทย์ ตรวจหาสาเหตุ อาจมีความผิดปกติในระบบไหลเวียนเลือดที่ขาหรือภาวะหลอดเลือดแข็งตัวจากเบา หวาน ความดันโลหิตสูงหรือโรคอื่นๆ

                                                                            

สร้างโดย: 
นางสาวอธิฐาน เที่ยงแท้

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 414 คน กำลังออนไลน์