• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:cda35b5ef51ce0d4f7908583aa852ed8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #008080\"><strong><u>กระจับปี่</u></strong></span>         <span style=\"color: #666699\">เป็นเครื่องดีดมี 4 สาย เมื่อพิจารณารูปร่างของเครื่องดนตรีชนิดนี้แล้ว สันนิษฐานว่าน่าจะมีวิวัฒนาการมาจากพิณ 4 สาย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"> (พิณพื้นเมืองของภาคเหนือ และภาคอีสาน ซึ่งมีวิวัฒนาการมาจากพิณเพียะอีกทีหนึ่ง) โดยการประดิษฐ์ขัดเกลา รูปร่างให้ปราณีต สวย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\">งามขึ้น เหมาะสมกับการที่จะนำไปใช้ในพระราชสำนัก สำหรับพระราชพิธีต่าง ๆ ปรากฏหลักฐานกล่าวถึงกระจับปี่ไว้ในกฏมณเฑียรบาล </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\">ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แห่งกรุงศรีอยุธยาว่า &quot;...ร้องเพลงเรือ เป่าปี่ เป่าขลุ่ย สีซอ ดีดจะเข้ กระจับปี่ ตีโทน ทับโห่ร้องนี่</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\">นั่น...&quot; คำว่า &quot;กระจับปี่&quot; คงจะมาจากคำว่า &quot;กัจฉปิ&quot; ในภาษาชวา โดยที่คำว่า กัจฉปิ ก็มาจากคำว่า &quot;กัจฉปะ&quot; ในภาษาบาลีสันสกฤต </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\">ซึ่งแปลว่า &quot;เต่า&quot; ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ กะโหลกมีรูปร่างคล้ายกระดองเต่า ต่อมาไทยจึงเรียกเครื่องดนตรีชนิดนี้เป็น &quot;กระจับปี่&quot; ในที่สุด</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong><u>เกราะ</u></strong></span>              <span style=\"color: #008000\">เป็นเครื่องตีทำด้วยกระบอกไม้ไผ่ยาว 1 ปล้อง ไว้ข้อหัวท้าย คว้านกระบอกผ่าบากท้องปล้องยาวไปตามลำ ใช้ตีด้วย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">ไม้ไผ่ ผ่าซีกหรือ ไม้แก่น มือหนึ่งถือเกราะ อีกมือหนึ่งถือไม้ตี อย่างที่เรียกว่า &quot;ตีเกราะ เคาะไม้&quot; เพราะใช้สำหรับตีบอกเวลา และเป็น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">อาณัติสัญญาณบอกเหตุ หรือนัดหมายการประชุมตามหมู่บ้านในสมัยก่อน ไม่เคยปรากฏว่าใช้บรรเลงร่วมในวงดนตรี</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><u>โกร่ง</u></strong></span>               <span style=\"color: #993300\">เป็นเครื่องรีทำด้วยไม้ไผ่ เช่นเดียวกับเกราะแต่ใช้ไม้ไผ่จำนวนหลายปล้อง (ยาวประมาณ 1 - 2 วา) ปากเป็นรูยาวไป</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\">ตามปล้องไม้ไผ่ (เว้นตรงข้อ) ทุกปล้อง เวลาตีวางลำราบไปตามพื้นโดยมีไม้รองหัวท้าย (บางทีถ้าเป็นโกร่งขนาดยาวมาก ต้องมีไม้รอง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\">ตอนกลางด้วย) ใช้ไม้ตีซึ่งเป็นซีกไม้ไผ่เกลากลมเกลี้ยง หรือจะใช้ซอไม้รวก หรือไม้แก่นเหลาขนาดเหมาะสมก็ได้ โกร่งใช้ตีประกอบ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\">จังหวะในวงปี่พาทย์ประกอบการแสดงโขน และหนังใหญ่โดยเฉพาะในการบรรเลงเพลงกน้าพาทย์ตอนตรวจพบ และในสมัยก่อนใช้ตี</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\">ประกอบการร้องเชิญแม่ศรี ซึ่งเป็นการละเล่นพื้นบ้านในช่วงเทศกาลสงกรานต์</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><u>ฆ้องราง</u></strong></span>           <span style=\"color: #ff6600\">เป็นเครื่องตีที่เข้าใจว่าวิวัฒนาการมาจากฆ้องคู่ โดยเพิ่มจำนวนลูกเป็น 7 ลูก ผูกเรียงหนึ่งไปตามความยาวของราง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">เทียบเสียงเรียงต่ำไปหาสูงตามลำดับครบ 7 เสียง บางรางอาจมีฆ้อง 8 ลูก ปัจจุบันฆ้องชนิดนี้ไม่ได้นำมาใช้บรรเลงแล้ว</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><a href=\"/http;/www.thaigoodview.com/node42633\">หน้าแรก</a></span>\n</p>\n', created = 1719522005, expire = 1719608405, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:cda35b5ef51ce0d4f7908583aa852ed8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เครื่องดนตรีไทย ที่ใช้ในพระราชพิธี

กระจับปี่         เป็นเครื่องดีดมี 4 สาย เมื่อพิจารณารูปร่างของเครื่องดนตรีชนิดนี้แล้ว สันนิษฐานว่าน่าจะมีวิวัฒนาการมาจากพิณ 4 สาย

 (พิณพื้นเมืองของภาคเหนือ และภาคอีสาน ซึ่งมีวิวัฒนาการมาจากพิณเพียะอีกทีหนึ่ง) โดยการประดิษฐ์ขัดเกลา รูปร่างให้ปราณีต สวย

งามขึ้น เหมาะสมกับการที่จะนำไปใช้ในพระราชสำนัก สำหรับพระราชพิธีต่าง ๆ ปรากฏหลักฐานกล่าวถึงกระจับปี่ไว้ในกฏมณเฑียรบาล

ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แห่งกรุงศรีอยุธยาว่า "...ร้องเพลงเรือ เป่าปี่ เป่าขลุ่ย สีซอ ดีดจะเข้ กระจับปี่ ตีโทน ทับโห่ร้องนี่

นั่น..." คำว่า "กระจับปี่" คงจะมาจากคำว่า "กัจฉปิ" ในภาษาชวา โดยที่คำว่า กัจฉปิ ก็มาจากคำว่า "กัจฉปะ" ในภาษาบาลีสันสกฤต

ซึ่งแปลว่า "เต่า" ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ กะโหลกมีรูปร่างคล้ายกระดองเต่า ต่อมาไทยจึงเรียกเครื่องดนตรีชนิดนี้เป็น "กระจับปี่" ในที่สุด

เกราะ              เป็นเครื่องตีทำด้วยกระบอกไม้ไผ่ยาว 1 ปล้อง ไว้ข้อหัวท้าย คว้านกระบอกผ่าบากท้องปล้องยาวไปตามลำ ใช้ตีด้วย

ไม้ไผ่ ผ่าซีกหรือ ไม้แก่น มือหนึ่งถือเกราะ อีกมือหนึ่งถือไม้ตี อย่างที่เรียกว่า "ตีเกราะ เคาะไม้" เพราะใช้สำหรับตีบอกเวลา และเป็น

อาณัติสัญญาณบอกเหตุ หรือนัดหมายการประชุมตามหมู่บ้านในสมัยก่อน ไม่เคยปรากฏว่าใช้บรรเลงร่วมในวงดนตรี


โกร่ง               เป็นเครื่องรีทำด้วยไม้ไผ่ เช่นเดียวกับเกราะแต่ใช้ไม้ไผ่จำนวนหลายปล้อง (ยาวประมาณ 1 - 2 วา) ปากเป็นรูยาวไป

ตามปล้องไม้ไผ่ (เว้นตรงข้อ) ทุกปล้อง เวลาตีวางลำราบไปตามพื้นโดยมีไม้รองหัวท้าย (บางทีถ้าเป็นโกร่งขนาดยาวมาก ต้องมีไม้รอง

ตอนกลางด้วย) ใช้ไม้ตีซึ่งเป็นซีกไม้ไผ่เกลากลมเกลี้ยง หรือจะใช้ซอไม้รวก หรือไม้แก่นเหลาขนาดเหมาะสมก็ได้ โกร่งใช้ตีประกอบ

จังหวะในวงปี่พาทย์ประกอบการแสดงโขน และหนังใหญ่โดยเฉพาะในการบรรเลงเพลงกน้าพาทย์ตอนตรวจพบ และในสมัยก่อนใช้ตี

ประกอบการร้องเชิญแม่ศรี ซึ่งเป็นการละเล่นพื้นบ้านในช่วงเทศกาลสงกรานต์


ฆ้องราง           เป็นเครื่องตีที่เข้าใจว่าวิวัฒนาการมาจากฆ้องคู่ โดยเพิ่มจำนวนลูกเป็น 7 ลูก ผูกเรียงหนึ่งไปตามความยาวของราง

เทียบเสียงเรียงต่ำไปหาสูงตามลำดับครบ 7 เสียง บางรางอาจมีฆ้อง 8 ลูก ปัจจุบันฆ้องชนิดนี้ไม่ได้นำมาใช้บรรเลงแล้ว

หน้าแรก

สร้างโดย: 
น.ส. จิราภรณ์ ดำรงรัชตศิลา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 379 คน กำลังออนไลน์