• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:70290286e2772bd305b46499d22d872f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\">บทที่ </span></b><b><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1 </span></b><b><span lang=\"TH\">กลศาสตร์</span></b></span></span><b><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"><br />\n</span></b><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\">ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี</span></b><b><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"><o:p></o:p></span></b></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">      </span><span lang=\"TH\">ฟิสิกส์(</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">physics)</span><span lang=\"TH\">มาจากภาษากรีกที่มีความหมายว่า&quot;ธรรมชาติ&quot;ดังนั้นฟิสิกส์จึงควรจะหมายถึงเรื่องราวที่เกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติทั้งหลายและมีความหมาย</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เช่นนั้น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ในสมัยก่อนซึ่งบางครั้งอาจเรียกว่า&quot;ปรัชญาธรรมชาติ&quot;ปัจจบันความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติได้ขยายขึ้นอย่างมากทั้งในเชิงรายละเอียดเเละสาขาของความรู้</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">โดยเฉพาะความรู้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ฟิสิกส์จึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของวิทยาศาสตร์ (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">science) </span><span lang=\"TH\">วิทยาศาสตร์โดยทั่วไปจะหมายถึงวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">natural science)</span><span lang=\"TH\">และจะไม่หมายถึงเฉพาะองค์ความรู้ความเข้าใจที่สะสมไว้เท่านั้นแต่จะมีความหมายรวมถึงกิจกรรมของมนุษย์ในการค้นคว้าหาความจริงในความเป็นไปของธรรมชาติรอบตัว</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตนั่นคือวิทยาศาสตร์หมายถึงองค์ความรู้และวิธีการหาความรู้ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์หรือการศึกษาตามวิธีของวิทยาศาสตร์การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตเรียกว่าวิทยา</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ศาสตร์ชีวภาพ (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">biological science) </span><span lang=\"TH\">ส่วนการศึกษาที่ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตเรียกว่าวิทยาศาสตร์กายภาพ (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">physical science) </span><span lang=\"TH\">นับเป็นการแบ่งวิทยาศาสตร์อย่างกว้างๆ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ฟิสิกส์จัดอยู่ในส่วนของวิทยาศาสตร์กายภาพ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">การแยกวิทยาศาสตร์ออกเป็นสาขามิได้หมายความว่าองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์จะต้องแยกจากกัน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แต่องค์ความรู้ในสาขาต่างๆ สามารถนำมาสนับสนุนซึ่งกันและกันได้</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เช่นความรู้และความเข้าใจต่อระบบชีวภาพในระดับที่ลึกซึ้งดังเช่นในปัจจุบันสามารถประสานกับความรู้ควายเข้าใจทางฟิสิกส์และ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เคมีได้เป็นอย่างดีการแยกสาขาของวิทยาศาสตร์อาจมองว่าเป็นเพียงเพื่อความสะดวกในการเรียนแต่ในการเข้าใจต่อธรรมชาติโดยรวม</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">อาจต้องนำความเข้าใจจากหลายสาขาวิชามาประสานกันจึงจะสมบูรณ์ดีทีสุด</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">อย่างไรก็ตามอาจกล่าวได้ว่าวิชาวิทยาศาสตร์ทุกแขนงเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ในบรรดาสาขาต่างๆ ของวิทยาศาสตร์กายภาพ เช่น เคมี ฟิสิกส์ ธรณีวิทยา อุตุนิยมวิทยา</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ฯลฯ วิชาฟิสิกส์นับเป็นวิชาพื้นฐานที่สำคัญ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เนื่องจากวิชาฟิสิกส์ยังคงไว้ซึ่งส่วนที่เป็นพื้นฐานของความเข้าใจต่อธรรมชาติเช่น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เรื่องแรงและการเคลื่อนที่พลังงาน สมบัติต่างๆ ของสสารเช่น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">การนำไฟฟ้าฯลฯและเป็นพื้นฐานวิชาให้เขาอื่นนำไปประยุกต์ วิธี</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">วิทยาศาสตร์(</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">scientific method)</span><span lang=\"TH\">กิจกรรมการค้นคว้าหาความจริงของธรรมชาติของกลุ่มบุคคลที่เรียกกันว่านักวิทยาศาสตร์นั้น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">กระทำกันอย่างเป็นระบบมีระเบียบ และแบบแผน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แต่ไม่ถึงกับว่านักวิทยาศาสตร์ทุกคนทำงานในรูปแบบอย่างเดียวกันทั้งหมด</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">นักวิทยาศาสตร์แต่ละคนได้ทำการค้นพบความเป็นไปของธรรมชาติอย่างไม่ซ้ำแบบกัน ทำให้</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เป็นการยากที่จะกล่าวว่าวิธีเช่นไรเป็นวิธีที่เป็นแบบอย่างของนักวิทยาศาสตร์</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แต่ก็มีบางอย่าง ที่นับเป็นสาระสำคัญของวิธีวิทยาศาสตรด้ กล่าวคือ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">นักวิทยาศาสตร์ทุกคนมีจุดมุ่งหมายที่จะ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ค้นคว้าหาความจริงหรือหาคำตอบที่ถูกต้องเกี่ยวกับความจริงของธรรมชาติ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">นักวิทยาศาสตร์ จะต้องมีวิธีแสดงหรือพิสูจน์ว่าคำตอบที่ได้นั้นๆ ถูกต้อง</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">โดยถือว่าถ้าเป็นความจริงจะต้อง ทดสอบได้หรือพิสูจน์ได้. การทดลอง</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"> (experimentation) </span><span lang=\"TH\">เป็นสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ใช้พิสูจน์ ความจริงต่างๆ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แนวความคิดใหม่หรือทฤษฎีใหม่ นั่นคือข้อเสนอในคำอธิบายใหม่หรือ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">หลักการใหม่ที่จะอธิบายหรมชาติ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">จะต้องมีการทดลองพิสูจน์ยืนยันได้ด้วยรวมทั้งยังต้องพิสูจน์ ได้ทุกแง่ทุกมุม</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">จึงจำเป็นที่ยอมรับกันในวงการวิทยาศาสตร์</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ถ้าเมื่อใดมีการทดลองที่ขัดแย้งกับทฤษฎีที่ยอมรับอยู่แม้แต่เพียงรายเดียว</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">และมีเหตุผลหนักแน่น นักวิทยาศาสตร์จะต้องหา</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แนวความคิดใหม่ที่จะอธิบายผลการทดลองที่ขัดแย้งให้ได้ คำอธิบายใหม่จะต้องอธิบายความ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">จริงเดิมได้ดีไม่ด้อยกว่าทฤษฎีเดิมหรือไม่ขัดแย้งกัน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เมื่อมีแนวความคิดหรือทฤษฎีใหม่เกิดขึ้น ย่อมมีการคิดคาดการณ์ต่างๆ (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">deduction) </span><span lang=\"TH\">จากทฤษฎีใหม่ในทำนองว่า &quot;ถ้าเป็นอย่างนั้น จะต้อง... (เป็นอย่างไรต่อไป)....&quot;</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ยังผลให้มีการทดลองใหม่ๆ เพื่อทดสอบทฤษฎีนั้นๆ ตอไป</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">งานทดสอบความคิดต่อความจริงของธรรมชาติโดยวิธีของวิทยาศาสตรจงไม่มทส้นสุด</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ข้อสงสัยเกี่ยวกับธรรมชาติก็เกิดขึ้นได้อยู่เสมอเช่นกัน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">วิธีการหาความจริงต่อความเป็นไปของ ธรรมชาติของนักวิทยาศาสตร์นั้น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">นักวิทยาศาสตร์ตระหนักดีว่ามีโอกาสผิดพลาดได้ง่ายหากไม่ รัดกุม</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">การเชื่อบุคคลที่น่านับถือโดยไม่พิจารณาเหตุผลให้รอบคอบอาจนำไปสู่คำตอบที่ผิดได</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ไม่มีสิ่งใดดีเท่ากับที่นามารถพิสูจนด้ด้วยการทดลองที่พร้อมด้วยเหตุผลตามหลักการที่ยอมรับ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">อยู่แล้ว วิธีป้องกันมิให้การสรุปผลการทดลองผิดพลาดก็คือ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">จะต้องวางตัวอยู่ในความเป็นกลาง</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">จะต้องไม่เอนเอียงต่อการเก็บข้อมูลและต่อผลการทดลองว่าจะเป็นสิ่งหนึ่งสิ่งใดล่วงหน้า</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">และ ซื่อตรงต่อผลการทดลองที่ทำได้</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">การปฏิบัติเช่นนี้นับว่าเป็นส่วนสำคัญของวิธีวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">technology) </span><span lang=\"TH\">หมายถึง วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการสร้าง ผลิต หรือ ใช้อุปกรณ์ต่างๆ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เพื่ออำนวยประโยชน์ต่อมนุษย์โดยตรง หรือสิ่งต่างๆ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ที่มนุษย์ใช้สอยได้เทคโนโลยีมีบทบาทต่ออารยธรรมของมนุษย์มาก่อนวิทยาศาสตร์</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เพราะมนุษย์รู้จักใช้ เทคโนโลยีมาตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์ก่อนประวึตศาสตร์</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">นักวิทยาศาสตร์ทราบว่ามนุษยูร้จักใช้ ไฟมาตั้งแต่ยุคหิน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">มนุษย์รู้จักใช้ไฟหลอมโลหะสร้างเป็นเครื่องมือมาก่อนมีการบันทึกใดๆ ใน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ประวัติศาสตร์มนุษย์รู้จักใช้เครื่องกลเพื่อผ่อนแรง เช่น ล้อ ลูกรอก คานงัดสูบน้ำ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">และ กาลักน้ำมาก่อนจะมีความเข้าใจเชิงวิทยาศาสตร์</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">และก่อนกาลิเลโอและนิวตันวางรากฐานวิชา กลศาสตร์ด้สำเร็จ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ศิลปะในการทำเครื่องมือเครื่องใช้ถือว่าเป็นเทคโนโลยีวิธีของเทคโนโลยี</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ในสมัยก่อนคือ ลองทำดูและทดลองใช้ (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">cut and try) </span><span lang=\"TH\">ด้วยวิธีการต่างๆ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เมื่อทำอย่างใดได้ผลดี ก็จดจำวิธีนั้นไว้ใช้ทำต่อไป</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ไม่ได้อาศัยความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ เช่นเดียวกับช่างตีเหล็ก ลองวิธีต่างๆ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">จนมีวิธีทำให้เหล็กเป็นเหล็กกล้าและทำใช้เป็นมีดได้ โดยที่ช่างตีเหล็กไม่เข้าใจ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">นักว่าทำไมทำอย่างนั้นจึงทำให้เหล็กเป็นเหล็กกล้าได้</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เป็นการยากที่จะนับว่าการทดลองทางวิทยาศาสตร์ด้เริ่มต้นขึ้นเมื่อใด แต่ผลงาน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">วิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ที่เรียนและใช้ในปัจจุบันเกิดขึ้นประมาณ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">400 </span><span lang=\"TH\">ปีมานี้</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">วิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะฟิสิกส์ค้นพบกฎเกณฑ์และทฤษฎีต่างๆ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ที่ทำให้เข้าใจกลไกของธรรมชาติมากขึ้น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ความรู้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์จึงมีบทบาทสำคัญต่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเป็น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">อย่างยิเง เนื่องจากทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์สามารถทำนายผลของการออกแบบหรือวิธีการที่จะ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">กระทำได้ เช่น การทำกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">electron microscope) </span><span lang=\"TH\">ซึ่งขยายได้มากกว่า กล้องจุลทรรศน์ธรรมดา</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เกิดขึ้นได้จากความเข้าใจสมบัติของอิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็ก และ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">สามารถคำนวณได้ก่อนการสร้าง อาจกล่าวได้ว่า วิทยาศาสตร์ช่วยพัฒนาเทคโนโลยี และ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เทคโนโลยีก็สนับสนุนวิทยาศาสตร์เช่นกัน เพราะบางส่วนของเทคโนโลยีมีส่วนในการสร้าง</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เครื่องมือที่ดีขึ้น ทำให้การค้นพบทางวิทยาศาสตร์รวดเร็วขึ้นเช่นกัน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ปัจจุบันวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีจึงสัมพันธ์กันมาก</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ดูเสมือนว่าไม่สามารถแยกออกจากกันได้ และนิยมที่จะ พูดถึง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"> (sc</span><span lang=\"TH\">ร</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">ence and Technology) </span><span lang=\"TH\">ไปด้วยกันเสมอ เทคโนโลยีสมัยใหม่</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">อยู่บนพื้นฐานความรู้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์แทบทั้งสิ้น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">วิทยาศาสตร์เป็นงานที่ไม่รู้จบ เพราะเป็นงานค้นคว้าหาความจริงของธรรมชาติ ผลงาน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">วิทยาศาสตร์ทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจใหม่ๆ เกึ่ยวกับธรรมชาติ และเกิดขึ้นต่อๆ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ไปได้ทุก เวลาด้วยความพยายามของนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">บางประเทศให้งบประมาณในการวิจัยมาก เนื่องจากถือว่าวิทยาศาสตร์นำความก้าวหน้ามาให้</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">และส่งผลใหัปรฌเทศนั้นๆ มีเทฦโนโลยีอยู่ ในระดับแนวหน้า</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">การค้นพบและการประยุกต์มีความสัมพันธ์กัน ดังตัวอย่างเช่นความรู้ความ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"> <o:p></o:p></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1.3</span><span lang=\"TH\">ปริมาณทางฟิสิกส์ (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">physicaI Quantiw) </span><span lang=\"TH\">และหน่วย (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">unit) </span><span lang=\"TH\">ปริมาณทางฟิสิกส์เป็นปริมาณที่สามารถวัดได้ด้วยเครื่องมือโดยตรงหรือโดยอ้อม- เป็น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ปริมาณที่มีความหมายเฉพาะเจาะจงอน่า</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">m</span><span lang=\"TH\">ใ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1</span><span lang=\"TH\">ดอย่างหนื่ง เช่น ปริมาตร มวล น้ำหนัก</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ความร็ว ความดัน แรง กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้า อุณหภูมิ เป็นต้น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ปริมาณเหล่านี้ จะด้องมี หน่วยกำกับถึงจะมีความหมายชัดเจน เช่น ปริมาตร</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">อาจจะมีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เซนติเมตร ลูกบาศก์เมตร หรือลูกบาศก์ฟุต และยังมีลิตร ถัง</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แกลลอนอีก ซึ่งรวมแล้วมีหน่วยได หลายอย่างทึ่นิยม์ใอช้กันในที่ต่างๆ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เพื่อให้การให้หน่วยเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก โดยเฉพาะ ในวงการวิทยาศาสตร์</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">องค์กรระหว่างชาติเพื่อการมาตรฐาน็ (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">lso </span><span lang=\"TH\">หรือ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">lnternationa organization for standardization) </span><span lang=\"TH\">ได้กำหนดระบบหน่วยมาตรฐานที่เรียกว่า ระบบเอสไอ (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">sl </span><span lang=\"TH\">ตัวย่อของ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"> systeme lnternationale) </span><span lang=\"TH\">ให้ทุกประเทศใช้เป็นมาตรฐาน ระบบเอาไอ ประกอบ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ด้วยสองส่วนใหญ่ คือ หน่วยฐาน (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">Base Units) </span><span lang=\"TH\">ซึ่งนับเป็นฐานของหน่วยทั้งหลายมี </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">7 </span><span lang=\"TH\">หน่วยได้แก่ เมตร (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">mete</span><span lang=\"TH\">ฤ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">m)</span><span lang=\"TH\">กิโลกรัม (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">kilogram\' kg)</span><span lang=\"TH\">วินาที (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">second\' s)</span><span lang=\"TH\">แอมแปร์</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เคลวิน โมล แคนเดอลา และหน่วยอนุพันธ์ (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">DerivedUnits) </span><span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นหน่วยที่สร้างจากหน่วยฐาน เช่น หน่วยของแรงให้ถือว่า นิวตัน (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">newton\' N)</span><span lang=\"TH\">ึ่งเป็นชื่อที่ให้เป็นเกียรติกับเชอร์ ไอแซก นิวตัน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">โปรดสังเกตว่าเมื่อนำชื่อนักวิทยาศาสตร์มา เป็นหน่วย</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">การเขียนชื่อหน่อยในภาษาอังกฤษจะนำด้วยตัวเล็กธรรมดาให้ต่างจากชื่อคน แต่</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">สัญลักษณ์ย่อของหน่วยใช้ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">N </span><span lang=\"TH\">ตัวใหญ่ หนวย นิวตันจะเทียบเท่ากับ กิโลกรัม</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เมตร่(วินาที) หรือ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">kg mls </span><span lang=\"TH\">หน่วยของพลังงานให้ใช้หน่วยชื่อ จูล (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1oule\' J ) </span><span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นชื่อคนเช่นกัน หน่วยจูล เทียบเท่ากับ นิวตัน เมตร (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">N m) </span><span lang=\"TH\">หรือเทียบหน่วยฐานคือ กิโลกรัม (เมตร) </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1 (</span><span lang=\"TH\">วินาที) หรือ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">kg m /s c</span><span lang=\"TH\">วธีการเขียนหน่วยที่ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">lso </span><span lang=\"TH\">แนะนำและเป็นที่นิยมมีหลายแบบ เช่น </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">kg m /s2 </span><span lang=\"TH\">อาจเขียนแบบ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"> kg m s </span><span lang=\"TH\">หรือ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">kg. m. s3 </span><span lang=\"TH\">ตัวหนังสือนี้จะใช้การเว้นหนึ่งช่องแทนการคูณและ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1 </span><span lang=\"TH\">แทนการหาร</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ดังที่ แสดง )นอกจากนี้ระบบหน่วยเอสไอยังได้กำหนดตัวนำหน้าหน่วย (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">pref1x) </span><span lang=\"TH\">เพื่อทำให้หน่วยที่ ใช้เล็กลงหรือโตขึ้น และแนะนำให้ใช้เป็นขั้นละ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1,000 </span><span lang=\"TH\">เท่า</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ตัวนำหน้าที่สำคัญมีดังต่อไปนี้</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"><o:p></o:p></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ตัวนำหน้ามาตรฐาน อภาษาไทย</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">สัญลักษณ์ย่อ ตัวคุณที่เทียบเท่า </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">femto- </span><span lang=\"TH\">เฟมโต </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">f 10-15 pico- </span><span lang=\"TH\">พิโก </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">p 10-12 nano- </span><span lang=\"TH\">นาโน </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">n 10-9 micro- </span><span lang=\"TH\">ไมโคร </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">u 10-6 milli- </span><span lang=\"TH\">มลล </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">m 10-3 kilo- </span><span lang=\"TH\">กิโล </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">k 103 mega- </span><span lang=\"TH\">เมกะ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">M 106 giga- </span><span lang=\"TH\">จิกะ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">G 109 tera- </span><span lang=\"TH\">เทระ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">T 1015<o:p></o:p></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ตัวอย่างการใช้ตัวนำหน้ากับหน่วย เช่น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ความยาวคลื่นของแสงนิยมใช้หน่วย นาโนเมตร (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">nanometer\' nm) </span><span lang=\"TH\">ระยะทางบนถนนควรใช้หน่วย</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">กิโลเมตร (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">kilometer\' km) </span><span lang=\"TH\">เป็นต้น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">รายละเอียดเพิ่มเติมสาหรับหน่วยในระบบเอาไอและหน่วยอื่นมีอยู่ในภาคผนวก</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"><o:p></o:p></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1.4 </span><span lang=\"TH\">การทดลองในวิชาฟิสิกส์ การทดลองในวิชาฟิสิกส์ดังที่จะได้กระทำในบทเรียนต่างๆ ต่อไป</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แม้จะไม่ใช่ของใหม่ การฝึกทำจะเป็นการฝึกฝนวิธีการทำการทดลอง</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ตามแนวที่เป็นที่ยอมรับในวงการฟิสิกส์ การ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ทำการทดลองถือเป็นส่วนสำคัญในการฝึกทำและคิดหาเหตุผลอย่างวิทยาศาสตร์เป็นการยากที่จะวางกฎเกณฑ์แน่ชัดสำหรับการทดลองทุกๆ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">อย่าง เนื่องจากในการ ทดลองแต่ละเรื่อง อาจมีลักษณะเฉพาะที่ต่างๆ กัน อย่างไรก็ตาม</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ในการทำการทดลอง มักจะทำเพื่อตอบคำถามบางอย่างหรือเพื่อหาความจริงบางอยาง</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"> (</span><span lang=\"TH\">ซึ่งก็จะเป็นวัตถุประสงค์ ของการทดลอง) เพื่อให้ได้คำตอบ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ก็ต้องคิดหาวิธีกาพดลองที่เหมาะสมและสอดคล้องกับอุปกรณ์ ที่มี</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ทำการทดลองเพื่อให้ได้ข้อมูลต่างๆ วิเคฆะห์จากข้อมูลเพื่อ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">m</span><span lang=\"TH\">ุปเป็นคำตอบ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">พั้นตอนเหล่านี้</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ดูจะเป็นกรอบที่จำเป็นสำหรับการทดลองคำตอบที่เราได้จะเป็นที่น่าเชื่อถือหรือไมต่อผู้อน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เราต้องสามารถแสดงทุกขั้นตอนของการทดลองได้ ดังนั้นจึงมีการเขียนรายงานการทดลอง</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">โดยยึดหลักการที่ว่า เขียนการทดลอง ให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่ายที่สุด กะทัดรัดที่สุด</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">มีครบทุกอย่าง โดยเฉพาะข้อมูลชัดเจน (การมีรูปวาด</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ประกอบและการเสนอข้อมูลเป็นตารางช่วยให้ดูง่ายและเป็นที่นิยม)</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แสดงการวิเคราะห์และการ สรุปผล</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">อาจตามด้วยข้อวิจารณ์หรือความคิดเห็นของตนเองเพิ่มเติมไว้ด้วย ทุกคนควรฝึกทำ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">สิ่งเหล่านี้ทุกการทดลอง</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"><o:p></o:p></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1.5</span><span lang=\"TH\">ความไม่แน่นอนในการวัด</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">การวัดปริมาณต่างๆ ด้วยเครื่องมือ ซึ่งจะเป็นข้อมูลของการทดลอง ย่อมไม่สามารถ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">วัดได้อย่างแม่นยำโดยไม่มีขีดจำกัด โดยทั่วไปจะมีความผิดพลาด (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">error) </span><span lang=\"TH\">หรือความคลาดเคลื่อน ที่เป็นไปได้อยู่บ้างเสมอ เพียงแต่อาจจะมากหรือน้อยเท่านั้น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">โอกื่าสที่จะคลาดเคลื่อนจาก ความเป็นจริงของปริมาณที่วัดได้</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">จะมากหรือน้อยขึ้นกับแต่ละสถานการณ์ที่ทำการวัด ขึ้นกับ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เครื่องมือและวิธีการที่ใช้วัดรวมทั้งยังขึ้นกับความสามารถและประสบการณ์ของผู้วัดด้วย</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">สรุป ว่าแต่ละ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">3</span><span lang=\"TH\">รมาณที่ทำการวัดโดยตรง </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">A </span><span lang=\"TH\">ย่อมมีฑรมาณ +</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1 M </span><span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นโอกาสผิดพลาดของ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">A </span><span lang=\"TH\">ที่เป็นไปได้ (โดยมีความเชื่อมั่นเกือบ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">100 % </span><span lang=\"TH\">ว่าผลที่ถูกต้องอยู่ภายใน </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">A+- A<o:p></o:p></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1.6 </span><span lang=\"TH\">เลขนัยสำคัญ (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">signincant Figure) </span><span lang=\"TH\">เลขนัยสำคัญ หรือ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">significant f1gure </span><span lang=\"TH\">ก็คือตัวเลขที่มีความหมายหรือมีความสำคัญใน ๕รมาณที่แสดงมา เช่น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">บอกว่าขณะนี้มีลูกหนี้เป็นหนี้อยู่ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1250 </span><span lang=\"TH\">บาท เลข </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1 </span><span lang=\"TH\">หรือตัวเลขหน้าสุดของ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">รมาณมีความสำคัญหรือมีความหมายมากที่สุต ถ้าตัวเลขนี้ผิดไปความหมายจะผิดไปมาก</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ตัวเลข </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">2 </span><span lang=\"TH\">หรือหลักที่สองมีความหมายรองลงมา ตัวเลข </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">5 </span><span lang=\"TH\">หรือหลักที่สามก็มีความหมายลดลง</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ไปอีกแต่ยังมีความหมาย ตัวเลข </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">0 </span><span lang=\"TH\">ถัดไปหรือหลักที่สี่ สำหรับกรณีน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">$</span><span lang=\"TH\">ม่ชัดเจนว่าจะมี</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ความหมายหรือไม่ ขึ้นกับว่าเจ้าหนี้คิดประมาณนี้จริงจังเพียงใด</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">หากว่าไม่ยอมให้ผิดไปสักบาทเดียว ก็ถือว่า</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">เลยตัวนี้มีความหมายและจะนับได้ว่า</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">3</span><span lang=\"TH\">รมาณนี้มีจำนวนเลขนัยสำคัญ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">4 </span><span lang=\"TH\">ตัว หากไม่คิด</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ความสำคัญของเลขตัวท้ายนี้ (เฉพาะเป็นเลข </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">0) </span><span lang=\"TH\">ก็ถือว่ามีจำนวนเลขนัยสำคัญ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">3 </span><span lang=\"TH\">ตัว</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">มีวิธี เขียนตัวเลขนี้แบบตัวเลขทางวิทยาศาสตร์</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ที่ให้มีจำนวนเลขนัยสำคัญที่ชัดเจนคือ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1.25 x 10 </span><span lang=\"TH\">บาท ซึ่งแสดงจำนวนเลขนัยสำคัญ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">3 </span><span lang=\"TH\">ตัว และ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1.250 *10 </span><span lang=\"TH\">บาท ซึ่งแสดงจำนวนเลขนัยสำคัญ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">4 </span><span lang=\"TH\">ตัว หรือหากเขียน </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1,250.00 </span><span lang=\"TH\">บาท</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">จะหมายถึงจำนวนเลขนัยสำคัญู </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">6 </span><span lang=\"TH\">ตัว ผิดไปหนึ่งสตางค ไม่ไต้</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ถ้าผิดไปน้อยกว่าครึ่งสตางค์พอได้ (กรณีเป็นหนี้ธนาคาร)</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"><o:p></o:p></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ดังนั้น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ในการทดลองปริมาณทุกปริมาณควรบันทึกด้วยจำนวนเลขนัยสำคัญที</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">j </span><span lang=\"TH\">เหมาะสม</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ความลัฌเอียดของตัวเลขควรมากกว่าค่าโอกาสผิดพลาด แต่ไม่ควรมากเกินไป คือ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ไม่เกินตัวเลขที่อาจผิดอยู่แล้วถึงสองหรือสามตัว</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"> (</span><span lang=\"TH\">โอกาสผิดพลาดอาจแสดงด้วยตัวเลขหนึ่งตัว หรืออย่างมากสองตัว)</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"><o:p></o:p></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1.7</span><span lang=\"TH\">การ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">บันทึก ข้อมูล การบันทึกข้อมูลที่จะให้กะทัดรัด ชัดเจน อ่านเข้าใจง่าย</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ขึ้นกับข้อมูลที่สาคัญสำหรับ การทดลองนั้นๆ หากเป็นไปได้หรือเหมาะสม</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">มักจะนำเสนอในรูปของตารางซึ่งมีหัวของช่อง ชัดเจน ว่าเป็น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">3</span><span lang=\"TH\">รมาณอะไร ในหน่วยอะไร</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ในบาง์โรมาณที่ต้องการความแน่นอนที่เชื่อถือได้ ควรวัด </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">3 </span><span lang=\"TH\">ครั้ง หรือ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">5 </span><span lang=\"TH\">ครั้ง</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แล้วหาค่าเฉลี่ย ซึ่งการทำหลายๆ ครั้งอาจใช้เครื่องคิดเลขบางแบบ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">คำนวณค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">s.D.) </span><span lang=\"TH\">ได้ด้วย ควรเริ่มด้วยช่องสดมภ์ (</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">column) </span><span lang=\"TH\">ที่เป็นตัวแปร ต้นที่จะวัดโดยตรง ตามด้วยตัวแปรตามีที่วัดได้โดยตรง</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ซึ่งสามารถบันทึกตัวลงไปทันทีที่วัดได้ แล้วจึงเพิ่มช่องต่อๆ ไปที่หาได้จากช่องแรกๆ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">จนได้ช่องของปริมาณที่จะใช้ในการวิเคราะห์ โดยเฉพาะที่จะใช้เขียนกราฟ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">นอกจากส่วนที่ทำการวัดที่สำคัญ ข้อมูลของการทดลองควรมีข้อมูลประกอบิ ซึ่งบาง</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ครั้งมีความหมายหรือมีความเกี่ยวข้องต่อผลการทดลองด้วย เช่น ทำการ้ใลองเมื่อใด สภาพ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แวดล้อมเป็นอย่างไร เชน อุณหภูมิ ความดันบรรยากาศ ความชึ้นสัมพัทธ์ ฯลฯ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"><o:p></o:p></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">1.8</span><span lang=\"TH\">การวิเคราะห์ผลการทดลอง</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ใช้การพิจารณาจากข้อมูลรวมทั้งการใช้การคำนวณตามความเหมาะสม เมื่อได้ผลสรุป</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">ที่เป็น</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">3</span><span lang=\"TH\">รมาณ ควรแสดงโอกาสผิดพลาดได้ของปริมาณนั้นด้วย การใช้กราฟเส้นตรงช่วยใน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">การวิเคราะห์</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">โดยเฉพาะเมื่อหาหรือพิสูจน์ความสัมพันธ์ระหว่างสอง</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">3</span><span lang=\"TH\">รมาณที่เป็นปฏิภาคกัน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">กราฟเส้นโค้งใช้ดูการเปลี่ยนแปลงได้แก่ไม่สามารถพิสูจน์ความสัมพันธด้ชัดเจน</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\" lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">สมการทางคณิตศาสตร์ของกราฟเส้นตรงจะอยู่ในรูป </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">9 = mx + c </span><span lang=\"TH\">เมื่อ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">m </span><span lang=\"TH\">คือ ความชัน หรือ</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"> slope </span><span lang=\"TH\">และ </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">c </span><span lang=\"TH\">คือ จุดตัดแกน </span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\">B </span><span lang=\"TH\">กราฟเป็นดังรูป</span><span style=\"font-family: \'Courier New\'\"> <o:p></o:p></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Courier New\'\"><v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 386.25pt; height: 169.5pt\" id=\"_x0000_i1025\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\05\\clip_image001.jpg\" o:href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/115/science/img/P401.jpg\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"></span></v:imagedata></v:shape><o:p></o:p></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Courier New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000; font-size: small\"> </span></o:p></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1729496593, expire = 1729582993, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:70290286e2772bd305b46499d22d872f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฟิสิกส์ ม.4 บทที่ 1 กลศาสตร์

บทที่ 1 กลศาสตร์
ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

      ฟิสิกส์(physics)มาจากภาษากรีกที่มีความหมายว่า"ธรรมชาติ"ดังนั้นฟิสิกส์จึงควรจะหมายถึงเรื่องราวที่เกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติทั้งหลายและมีความหมาย เช่นนั้น ในสมัยก่อนซึ่งบางครั้งอาจเรียกว่า"ปรัชญาธรรมชาติ"ปัจจบันความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติได้ขยายขึ้นอย่างมากทั้งในเชิงรายละเอียดเเละสาขาของความรู้ โดยเฉพาะความรู้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์จึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของวิทยาศาสตร์ (science) วิทยาศาสตร์โดยทั่วไปจะหมายถึงวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural science)และจะไม่หมายถึงเฉพาะองค์ความรู้ความเข้าใจที่สะสมไว้เท่านั้นแต่จะมีความหมายรวมถึงกิจกรรมของมนุษย์ในการค้นคว้าหาความจริงในความเป็นไปของธรรมชาติรอบตัว ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตนั่นคือวิทยาศาสตร์หมายถึงองค์ความรู้และวิธีการหาความรู้ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์หรือการศึกษาตามวิธีของวิทยาศาสตร์การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตเรียกว่าวิทยา ศาสตร์ชีวภาพ (biological science) ส่วนการศึกษาที่ไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตเรียกว่าวิทยาศาสตร์กายภาพ (physical science) นับเป็นการแบ่งวิทยาศาสตร์อย่างกว้างๆ ฟิสิกส์จัดอยู่ในส่วนของวิทยาศาสตร์กายภาพ การแยกวิทยาศาสตร์ออกเป็นสาขามิได้หมายความว่าองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์จะต้องแยกจากกัน แต่องค์ความรู้ในสาขาต่างๆ สามารถนำมาสนับสนุนซึ่งกันและกันได้ เช่นความรู้และความเข้าใจต่อระบบชีวภาพในระดับที่ลึกซึ้งดังเช่นในปัจจุบันสามารถประสานกับความรู้ควายเข้าใจทางฟิสิกส์และ เคมีได้เป็นอย่างดีการแยกสาขาของวิทยาศาสตร์อาจมองว่าเป็นเพียงเพื่อความสะดวกในการเรียนแต่ในการเข้าใจต่อธรรมชาติโดยรวม อาจต้องนำความเข้าใจจากหลายสาขาวิชามาประสานกันจึงจะสมบูรณ์ดีทีสุด อย่างไรก็ตามอาจกล่าวได้ว่าวิชาวิทยาศาสตร์ทุกแขนงเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ในบรรดาสาขาต่างๆ ของวิทยาศาสตร์กายภาพ เช่น เคมี ฟิสิกส์ ธรณีวิทยา อุตุนิยมวิทยา ฯลฯ วิชาฟิสิกส์นับเป็นวิชาพื้นฐานที่สำคัญ เนื่องจากวิชาฟิสิกส์ยังคงไว้ซึ่งส่วนที่เป็นพื้นฐานของความเข้าใจต่อธรรมชาติเช่น เรื่องแรงและการเคลื่อนที่พลังงาน สมบัติต่างๆ ของสสารเช่น การนำไฟฟ้าฯลฯและเป็นพื้นฐานวิชาให้เขาอื่นนำไปประยุกต์ วิธี วิทยาศาสตร์(scientific method)กิจกรรมการค้นคว้าหาความจริงของธรรมชาติของกลุ่มบุคคลที่เรียกกันว่านักวิทยาศาสตร์นั้น กระทำกันอย่างเป็นระบบมีระเบียบ และแบบแผน แต่ไม่ถึงกับว่านักวิทยาศาสตร์ทุกคนทำงานในรูปแบบอย่างเดียวกันทั้งหมด นักวิทยาศาสตร์แต่ละคนได้ทำการค้นพบความเป็นไปของธรรมชาติอย่างไม่ซ้ำแบบกัน ทำให้ เป็นการยากที่จะกล่าวว่าวิธีเช่นไรเป็นวิธีที่เป็นแบบอย่างของนักวิทยาศาสตร์ แต่ก็มีบางอย่าง ที่นับเป็นสาระสำคัญของวิธีวิทยาศาสตรด้ กล่าวคือ นักวิทยาศาสตร์ทุกคนมีจุดมุ่งหมายที่จะ ค้นคว้าหาความจริงหรือหาคำตอบที่ถูกต้องเกี่ยวกับความจริงของธรรมชาติ นักวิทยาศาสตร์ จะต้องมีวิธีแสดงหรือพิสูจน์ว่าคำตอบที่ได้นั้นๆ ถูกต้อง โดยถือว่าถ้าเป็นความจริงจะต้อง ทดสอบได้หรือพิสูจน์ได้. การทดลอง (experimentation) เป็นสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ใช้พิสูจน์ ความจริงต่างๆ แนวความคิดใหม่หรือทฤษฎีใหม่ นั่นคือข้อเสนอในคำอธิบายใหม่หรือ หลักการใหม่ที่จะอธิบายหรมชาติ จะต้องมีการทดลองพิสูจน์ยืนยันได้ด้วยรวมทั้งยังต้องพิสูจน์ ได้ทุกแง่ทุกมุม จึงจำเป็นที่ยอมรับกันในวงการวิทยาศาสตร์ ถ้าเมื่อใดมีการทดลองที่ขัดแย้งกับทฤษฎีที่ยอมรับอยู่แม้แต่เพียงรายเดียว และมีเหตุผลหนักแน่น นักวิทยาศาสตร์จะต้องหา แนวความคิดใหม่ที่จะอธิบายผลการทดลองที่ขัดแย้งให้ได้ คำอธิบายใหม่จะต้องอธิบายความ จริงเดิมได้ดีไม่ด้อยกว่าทฤษฎีเดิมหรือไม่ขัดแย้งกัน เมื่อมีแนวความคิดหรือทฤษฎีใหม่เกิดขึ้น ย่อมมีการคิดคาดการณ์ต่างๆ (deduction) จากทฤษฎีใหม่ในทำนองว่า "ถ้าเป็นอย่างนั้น จะต้อง... (เป็นอย่างไรต่อไป)...." ยังผลให้มีการทดลองใหม่ๆ เพื่อทดสอบทฤษฎีนั้นๆ ตอไป งานทดสอบความคิดต่อความจริงของธรรมชาติโดยวิธีของวิทยาศาสตรจงไม่มทส้นสุด ข้อสงสัยเกี่ยวกับธรรมชาติก็เกิดขึ้นได้อยู่เสมอเช่นกัน วิธีการหาความจริงต่อความเป็นไปของ ธรรมชาติของนักวิทยาศาสตร์นั้น นักวิทยาศาสตร์ตระหนักดีว่ามีโอกาสผิดพลาดได้ง่ายหากไม่ รัดกุม การเชื่อบุคคลที่น่านับถือโดยไม่พิจารณาเหตุผลให้รอบคอบอาจนำไปสู่คำตอบที่ผิดได ไม่มีสิ่งใดดีเท่ากับที่นามารถพิสูจนด้ด้วยการทดลองที่พร้อมด้วยเหตุผลตามหลักการที่ยอมรับ อยู่แล้ว วิธีป้องกันมิให้การสรุปผลการทดลองผิดพลาดก็คือ จะต้องวางตัวอยู่ในความเป็นกลาง จะต้องไม่เอนเอียงต่อการเก็บข้อมูลและต่อผลการทดลองว่าจะเป็นสิ่งหนึ่งสิ่งใดล่วงหน้า และ ซื่อตรงต่อผลการทดลองที่ทำได้ การปฏิบัติเช่นนี้นับว่าเป็นส่วนสำคัญของวิธีวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (technology) หมายถึง วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการสร้าง ผลิต หรือ ใช้อุปกรณ์ต่างๆ เพื่ออำนวยประโยชน์ต่อมนุษย์โดยตรง หรือสิ่งต่างๆ ที่มนุษย์ใช้สอยได้เทคโนโลยีมีบทบาทต่ออารยธรรมของมนุษย์มาก่อนวิทยาศาสตร์ เพราะมนุษย์รู้จักใช้ เทคโนโลยีมาตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์ก่อนประวึตศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ทราบว่ามนุษยูร้จักใช้ ไฟมาตั้งแต่ยุคหิน มนุษย์รู้จักใช้ไฟหลอมโลหะสร้างเป็นเครื่องมือมาก่อนมีการบันทึกใดๆ ใน ประวัติศาสตร์มนุษย์รู้จักใช้เครื่องกลเพื่อผ่อนแรง เช่น ล้อ ลูกรอก คานงัดสูบน้ำ และ กาลักน้ำมาก่อนจะมีความเข้าใจเชิงวิทยาศาสตร์ และก่อนกาลิเลโอและนิวตันวางรากฐานวิชา กลศาสตร์ด้สำเร็จ ศิลปะในการทำเครื่องมือเครื่องใช้ถือว่าเป็นเทคโนโลยีวิธีของเทคโนโลยี ในสมัยก่อนคือ ลองทำดูและทดลองใช้ (cut and try) ด้วยวิธีการต่างๆ เมื่อทำอย่างใดได้ผลดี ก็จดจำวิธีนั้นไว้ใช้ทำต่อไป ไม่ได้อาศัยความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ เช่นเดียวกับช่างตีเหล็ก ลองวิธีต่างๆ จนมีวิธีทำให้เหล็กเป็นเหล็กกล้าและทำใช้เป็นมีดได้ โดยที่ช่างตีเหล็กไม่เข้าใจ นักว่าทำไมทำอย่างนั้นจึงทำให้เหล็กเป็นเหล็กกล้าได้ เป็นการยากที่จะนับว่าการทดลองทางวิทยาศาสตร์ด้เริ่มต้นขึ้นเมื่อใด แต่ผลงาน วิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ที่เรียนและใช้ในปัจจุบันเกิดขึ้นประมาณ 400 ปีมานี้ วิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะฟิสิกส์ค้นพบกฎเกณฑ์และทฤษฎีต่างๆ ที่ทำให้เข้าใจกลไกของธรรมชาติมากขึ้น ความรู้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์จึงมีบทบาทสำคัญต่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเป็น อย่างยิเง เนื่องจากทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์สามารถทำนายผลของการออกแบบหรือวิธีการที่จะ กระทำได้ เช่น การทำกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (electron microscope) ซึ่งขยายได้มากกว่า กล้องจุลทรรศน์ธรรมดา เกิดขึ้นได้จากความเข้าใจสมบัติของอิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็ก และ สามารถคำนวณได้ก่อนการสร้าง อาจกล่าวได้ว่า วิทยาศาสตร์ช่วยพัฒนาเทคโนโลยี และ เทคโนโลยีก็สนับสนุนวิทยาศาสตร์เช่นกัน เพราะบางส่วนของเทคโนโลยีมีส่วนในการสร้าง เครื่องมือที่ดีขึ้น ทำให้การค้นพบทางวิทยาศาสตร์รวดเร็วขึ้นเช่นกัน ปัจจุบันวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีจึงสัมพันธ์กันมาก ดูเสมือนว่าไม่สามารถแยกออกจากกันได้ และนิยมที่จะ พูดถึง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (scence and Technology) ไปด้วยกันเสมอ เทคโนโลยีสมัยใหม่ อยู่บนพื้นฐานความรู้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์แทบทั้งสิ้น วิทยาศาสตร์เป็นงานที่ไม่รู้จบ เพราะเป็นงานค้นคว้าหาความจริงของธรรมชาติ ผลงาน วิทยาศาสตร์ทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจใหม่ๆ เกึ่ยวกับธรรมชาติ และเกิดขึ้นต่อๆ ไปได้ทุก เวลาด้วยความพยายามของนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก บางประเทศให้งบประมาณในการวิจัยมาก เนื่องจากถือว่าวิทยาศาสตร์นำความก้าวหน้ามาให้ และส่งผลใหัปรฌเทศนั้นๆ มีเทฦโนโลยีอยู่ ในระดับแนวหน้า การค้นพบและการประยุกต์มีความสัมพันธ์กัน ดังตัวอย่างเช่นความรู้ความ

1.3ปริมาณทางฟิสิกส์ (physicaI Quantiw) และหน่วย (unit) ปริมาณทางฟิสิกส์เป็นปริมาณที่สามารถวัดได้ด้วยเครื่องมือโดยตรงหรือโดยอ้อม- เป็น ปริมาณที่มีความหมายเฉพาะเจาะจงอน่าm1ดอย่างหนื่ง เช่น ปริมาตร มวล น้ำหนัก ความร็ว ความดัน แรง กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้า อุณหภูมิ เป็นต้น ปริมาณเหล่านี้ จะด้องมี หน่วยกำกับถึงจะมีความหมายชัดเจน เช่น ปริมาตร อาจจะมีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เซนติเมตร ลูกบาศก์เมตร หรือลูกบาศก์ฟุต และยังมีลิตร ถัง แกลลอนอีก ซึ่งรวมแล้วมีหน่วยได หลายอย่างทึ่นิยม์ใอช้กันในที่ต่างๆ เพื่อให้การให้หน่วยเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก โดยเฉพาะ ในวงการวิทยาศาสตร์ องค์กรระหว่างชาติเพื่อการมาตรฐาน็ (lso หรือ lnternationa organization for standardization) ได้กำหนดระบบหน่วยมาตรฐานที่เรียกว่า ระบบเอสไอ (sl ตัวย่อของ systeme lnternationale) ให้ทุกประเทศใช้เป็นมาตรฐาน ระบบเอาไอ ประกอบ ด้วยสองส่วนใหญ่ คือ หน่วยฐาน (Base Units) ซึ่งนับเป็นฐานของหน่วยทั้งหลายมี 7 หน่วยได้แก่ เมตร (metem)กิโลกรัม (kilogram' kg)วินาที (second' s)แอมแปร์ เคลวิน โมล แคนเดอลา และหน่วยอนุพันธ์ (DerivedUnits) ซึ่งเป็นหน่วยที่สร้างจากหน่วยฐาน เช่น หน่วยของแรงให้ถือว่า นิวตัน (newton' N)ึ่งเป็นชื่อที่ให้เป็นเกียรติกับเชอร์ ไอแซก นิวตัน โปรดสังเกตว่าเมื่อนำชื่อนักวิทยาศาสตร์มา เป็นหน่วย การเขียนชื่อหน่อยในภาษาอังกฤษจะนำด้วยตัวเล็กธรรมดาให้ต่างจากชื่อคน แต่ สัญลักษณ์ย่อของหน่วยใช้ N ตัวใหญ่ หนวย นิวตันจะเทียบเท่ากับ กิโลกรัม เมตร่(วินาที) หรือ kg mls หน่วยของพลังงานให้ใช้หน่วยชื่อ จูล (1oule' J ) ซึ่งเป็นชื่อคนเช่นกัน หน่วยจูล เทียบเท่ากับ นิวตัน เมตร (N m) หรือเทียบหน่วยฐานคือ กิโลกรัม (เมตร) 1 (วินาที) หรือ kg m /s cวธีการเขียนหน่วยที่ lso แนะนำและเป็นที่นิยมมีหลายแบบ เช่น kg m /s2 อาจเขียนแบบ kg m s หรือ kg. m. s3 ตัวหนังสือนี้จะใช้การเว้นหนึ่งช่องแทนการคูณและ 1 แทนการหาร ดังที่ แสดง )นอกจากนี้ระบบหน่วยเอสไอยังได้กำหนดตัวนำหน้าหน่วย (pref1x) เพื่อทำให้หน่วยที่ ใช้เล็กลงหรือโตขึ้น และแนะนำให้ใช้เป็นขั้นละ 1,000 เท่า ตัวนำหน้าที่สำคัญมีดังต่อไปนี้

ตัวนำหน้ามาตรฐาน อภาษาไทย สัญลักษณ์ย่อ ตัวคุณที่เทียบเท่า femto- เฟมโต f 10-15 pico- พิโก p 10-12 nano- นาโน n 10-9 micro- ไมโคร u 10-6 milli- มลล m 10-3 kilo- กิโล k 103 mega- เมกะ M 106 giga- จิกะ G 109 tera- เทระ T 1015

ตัวอย่างการใช้ตัวนำหน้ากับหน่วย เช่น ความยาวคลื่นของแสงนิยมใช้หน่วย นาโนเมตร (nanometer' nm) ระยะทางบนถนนควรใช้หน่วย กิโลเมตร (kilometer' km) เป็นต้น รายละเอียดเพิ่มเติมสาหรับหน่วยในระบบเอาไอและหน่วยอื่นมีอยู่ในภาคผนวก

1.4 การทดลองในวิชาฟิสิกส์ การทดลองในวิชาฟิสิกส์ดังที่จะได้กระทำในบทเรียนต่างๆ ต่อไป แม้จะไม่ใช่ของใหม่ การฝึกทำจะเป็นการฝึกฝนวิธีการทำการทดลอง ตามแนวที่เป็นที่ยอมรับในวงการฟิสิกส์ การ ทำการทดลองถือเป็นส่วนสำคัญในการฝึกทำและคิดหาเหตุผลอย่างวิทยาศาสตร์เป็นการยากที่จะวางกฎเกณฑ์แน่ชัดสำหรับการทดลองทุกๆ อย่าง เนื่องจากในการ ทดลองแต่ละเรื่อง อาจมีลักษณะเฉพาะที่ต่างๆ กัน อย่างไรก็ตาม ในการทำการทดลอง มักจะทำเพื่อตอบคำถามบางอย่างหรือเพื่อหาความจริงบางอยาง (ซึ่งก็จะเป็นวัตถุประสงค์ ของการทดลอง) เพื่อให้ได้คำตอบ ก็ต้องคิดหาวิธีกาพดลองที่เหมาะสมและสอดคล้องกับอุปกรณ์ ที่มี ทำการทดลองเพื่อให้ได้ข้อมูลต่างๆ วิเคฆะห์จากข้อมูลเพื่อmุปเป็นคำตอบ พั้นตอนเหล่านี้ ดูจะเป็นกรอบที่จำเป็นสำหรับการทดลองคำตอบที่เราได้จะเป็นที่น่าเชื่อถือหรือไมต่อผู้อน เราต้องสามารถแสดงทุกขั้นตอนของการทดลองได้ ดังนั้นจึงมีการเขียนรายงานการทดลอง โดยยึดหลักการที่ว่า เขียนการทดลอง ให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่ายที่สุด กะทัดรัดที่สุด มีครบทุกอย่าง โดยเฉพาะข้อมูลชัดเจน (การมีรูปวาด ประกอบและการเสนอข้อมูลเป็นตารางช่วยให้ดูง่ายและเป็นที่นิยม) แสดงการวิเคราะห์และการ สรุปผล อาจตามด้วยข้อวิจารณ์หรือความคิดเห็นของตนเองเพิ่มเติมไว้ด้วย ทุกคนควรฝึกทำ สิ่งเหล่านี้ทุกการทดลอง

1.5ความไม่แน่นอนในการวัด การวัดปริมาณต่างๆ ด้วยเครื่องมือ ซึ่งจะเป็นข้อมูลของการทดลอง ย่อมไม่สามารถ วัดได้อย่างแม่นยำโดยไม่มีขีดจำกัด โดยทั่วไปจะมีความผิดพลาด (error) หรือความคลาดเคลื่อน ที่เป็นไปได้อยู่บ้างเสมอ เพียงแต่อาจจะมากหรือน้อยเท่านั้น โอกื่าสที่จะคลาดเคลื่อนจาก ความเป็นจริงของปริมาณที่วัดได้ จะมากหรือน้อยขึ้นกับแต่ละสถานการณ์ที่ทำการวัด ขึ้นกับ เครื่องมือและวิธีการที่ใช้วัดรวมทั้งยังขึ้นกับความสามารถและประสบการณ์ของผู้วัดด้วย สรุป ว่าแต่ละ3รมาณที่ทำการวัดโดยตรง A ย่อมมีฑรมาณ +1 M ซึ่งเป็นโอกาสผิดพลาดของ A ที่เป็นไปได้ (โดยมีความเชื่อมั่นเกือบ 100 % ว่าผลที่ถูกต้องอยู่ภายใน A+- A

1.6 เลขนัยสำคัญ (signincant Figure) เลขนัยสำคัญ หรือ significant f1gure ก็คือตัวเลขที่มีความหมายหรือมีความสำคัญใน ๕รมาณที่แสดงมา เช่น บอกว่าขณะนี้มีลูกหนี้เป็นหนี้อยู่ 1250 บาท เลข 1 หรือตัวเลขหน้าสุดของ รมาณมีความสำคัญหรือมีความหมายมากที่สุต ถ้าตัวเลขนี้ผิดไปความหมายจะผิดไปมาก ตัวเลข 2 หรือหลักที่สองมีความหมายรองลงมา ตัวเลข 5 หรือหลักที่สามก็มีความหมายลดลง ไปอีกแต่ยังมีความหมาย ตัวเลข 0 ถัดไปหรือหลักที่สี่ สำหรับกรณีน$ม่ชัดเจนว่าจะมี ความหมายหรือไม่ ขึ้นกับว่าเจ้าหนี้คิดประมาณนี้จริงจังเพียงใด หากว่าไม่ยอมให้ผิดไปสักบาทเดียว ก็ถือว่า เลยตัวนี้มีความหมายและจะนับได้ว่า3รมาณนี้มีจำนวนเลขนัยสำคัญ 4 ตัว หากไม่คิด ความสำคัญของเลขตัวท้ายนี้ (เฉพาะเป็นเลข 0) ก็ถือว่ามีจำนวนเลขนัยสำคัญ 3 ตัว มีวิธี เขียนตัวเลขนี้แบบตัวเลขทางวิทยาศาสตร์ ที่ให้มีจำนวนเลขนัยสำคัญที่ชัดเจนคือ 1.25 x 10 บาท ซึ่งแสดงจำนวนเลขนัยสำคัญ 3 ตัว และ 1.250 *10 บาท ซึ่งแสดงจำนวนเลขนัยสำคัญ 4 ตัว หรือหากเขียน 1,250.00 บาท จะหมายถึงจำนวนเลขนัยสำคัญู 6 ตัว ผิดไปหนึ่งสตางค ไม่ไต้ ถ้าผิดไปน้อยกว่าครึ่งสตางค์พอได้ (กรณีเป็นหนี้ธนาคาร)

ดังนั้น ในการทดลองปริมาณทุกปริมาณควรบันทึกด้วยจำนวนเลขนัยสำคัญทีj เหมาะสม ความลัฌเอียดของตัวเลขควรมากกว่าค่าโอกาสผิดพลาด แต่ไม่ควรมากเกินไป คือ ไม่เกินตัวเลขที่อาจผิดอยู่แล้วถึงสองหรือสามตัว (โอกาสผิดพลาดอาจแสดงด้วยตัวเลขหนึ่งตัว หรืออย่างมากสองตัว)

1.7การ บันทึก ข้อมูล การบันทึกข้อมูลที่จะให้กะทัดรัด ชัดเจน อ่านเข้าใจง่าย ขึ้นกับข้อมูลที่สาคัญสำหรับ การทดลองนั้นๆ หากเป็นไปได้หรือเหมาะสม มักจะนำเสนอในรูปของตารางซึ่งมีหัวของช่อง ชัดเจน ว่าเป็น3รมาณอะไร ในหน่วยอะไร ในบาง์โรมาณที่ต้องการความแน่นอนที่เชื่อถือได้ ควรวัด 3 ครั้ง หรือ 5 ครั้ง แล้วหาค่าเฉลี่ย ซึ่งการทำหลายๆ ครั้งอาจใช้เครื่องคิดเลขบางแบบ คำนวณค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( s.D.) ได้ด้วย ควรเริ่มด้วยช่องสดมภ์ (column) ที่เป็นตัวแปร ต้นที่จะวัดโดยตรง ตามด้วยตัวแปรตามีที่วัดได้โดยตรง ซึ่งสามารถบันทึกตัวลงไปทันทีที่วัดได้ แล้วจึงเพิ่มช่องต่อๆ ไปที่หาได้จากช่องแรกๆ จนได้ช่องของปริมาณที่จะใช้ในการวิเคราะห์ โดยเฉพาะที่จะใช้เขียนกราฟ นอกจากส่วนที่ทำการวัดที่สำคัญ ข้อมูลของการทดลองควรมีข้อมูลประกอบิ ซึ่งบาง ครั้งมีความหมายหรือมีความเกี่ยวข้องต่อผลการทดลองด้วย เช่น ทำการ้ใลองเมื่อใด สภาพ แวดล้อมเป็นอย่างไร เชน อุณหภูมิ ความดันบรรยากาศ ความชึ้นสัมพัทธ์ ฯลฯ

1.8การวิเคราะห์ผลการทดลอง ใช้การพิจารณาจากข้อมูลรวมทั้งการใช้การคำนวณตามความเหมาะสม เมื่อได้ผลสรุป ที่เป็น3รมาณ ควรแสดงโอกาสผิดพลาดได้ของปริมาณนั้นด้วย การใช้กราฟเส้นตรงช่วยใน การวิเคราะห์ โดยเฉพาะเมื่อหาหรือพิสูจน์ความสัมพันธ์ระหว่างสอง3รมาณที่เป็นปฏิภาคกัน กราฟเส้นโค้งใช้ดูการเปลี่ยนแปลงได้แก่ไม่สามารถพิสูจน์ความสัมพันธด้ชัดเจน สมการทางคณิตศาสตร์ของกราฟเส้นตรงจะอยู่ในรูป 9 = mx + c เมื่อ m คือ ความชัน หรือ slope และ c คือ จุดตัดแกน B กราฟเป็นดังรูป

 

 

สร้างโดย: 
นายอุกฤษฏ์ นันอุมาลี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 404 คน กำลังออนไลน์