• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5600d90eda498124811e74361bafa335' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>                ในการเขียนโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์ทำงานนั้น จำเป็นต้องมีหลักในการเขียนโปรแกรม โดยอาจเขียนเป็นคำอธิบายง่ายๆ ขึ้นมาก่อน หรือเขียนเป็นผังงาน เพื่อแสดงขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ก่อนที่จะนำไปเขียนเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่อไป นอกจากนี้การเขียนคำอธิบายการทำงาน หรือการเขียนผังงานยังทำให้การกลับมาศึกษาโปรแกรมในภายหลังทำได้ง่ายขึ้นอีกด้วย<br />\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\">       </span></span> <span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 11pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">      คำว่า </span><i><span style=\"font-size: 11pt; color: #333333; font-family: Tahoma\">Algorithm</span></i></span><span style=\"font-size: 11pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"> มีที่มาจากชื่อของนักคณิตศาสตร์</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2\" title=\"เปอร์เซีย\"><span style=\"color: #0000ff\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ชาวเปอร์เซีย</span></u></span></a><span style=\"color: #000000\">ในยุคศตวรรษที่ 9 อะบู อับดิลลาหฺ บิน มูซา </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%8B%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C\" title=\"อัลคอวาริซมีย์\"><span style=\"color: #0000ff\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อัลคอวาริซมีย์</span></u></span></a><span style=\"color: #000000\"> (</span></span><span style=\"font-size: 11pt; color: #333333; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\">Abu Abdillah Muhammad bin Musa al-Khawarizmi) <span lang=\"TH\">คำว่า </span>al-Khawarizmi <span lang=\"TH\">ได้เพี้ยนเป็น </span>Algoritmi <span lang=\"TH\">เมื่องานเขียนของเขาได้รับการแปลเป็นภาษาละติน แล้วกลายเป็น </span>Algorithm<span lang=\"TH\"> <i>อัลกอริทึม</i> ซึ่งใช้หมายถึงกฎที่ใช้ในการคิดคำนวณเลขคณิต และได้กลายมาเป็นคำ <i>ขั้นตอนวิธี</i> ในช่วงศตวรรษที่ 18. ในปัจจุบัน คำนี้ได้มีความหมายที่กว้างขึ้น หมายรวมถึง ขั้นตอนวิธีการในการแก้ปัญหาต่างๆ</span></span><span style=\"font-size: 7.5pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><u1:p></u1:p></span> </span><span style=\"font-size: 11pt; color: #333333; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\">       <span lang=\"TH\">ขั้นตอนวิธีแรกสำหรับ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"คอมพิวเตอร์\"><span style=\"color: #0000ff\"><u><span style=\"color: #0000ff\">คอมพิวเตอร์</span></u></span></a><span style=\"color: #000000\">นั้น เขียนขึ้นในปี </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84.%E0%B8%A8._1842\" title=\"ค.ศ. 1842\"><span style=\"color: #0000ff\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ค.ศ. 1842</span></u></span></a><span style=\"color: #000000\"> โดย </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%B2_%E0%B9%84%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%99\" title=\"เอดา ไบรอน\"><span style=\"color: #0000ff\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เอดา ไบรอน</span></u></span></a><span style=\"color: #000000\"> ใน </span><a href=\"http://en.wikipedia.org/wiki/Ada_Byron%27s_notes_on_the_analytical_engine\" title=\"en:Ada Byron\'s notes on the analytical engine\"><span lang=\"EN-US\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">notes</span> <span lang=\"EN-US\">on the analytical engine</span></span></u></span></a><span style=\"color: #000000\"> ทำให้ถือกันว่า เอดาเป็นนักพัฒนาโปรแกรมหรือ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"โปรแกรมเมอร์\"><span style=\"color: #0000ff\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โปรแกรมเมอร์</span></u></span></a><span style=\"color: #000000\">คนแรกของโลก แต่เนื่องจาก </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A5%E0%B8%AA_%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%88\" title=\"ชาร์ลส แบบเบจ\"><span style=\"color: #0000ff\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ชาร์ลส แบบเบจ</span></u></span></a><span style=\"color: #000000\"> ไม่ได้สร้าง </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=Analytical_engine&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"Analytical engine (หน้านี้ไม่มี)\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"EN-US\"><span style=\"color: #cc2200\">analytical</span></span><span style=\"color: #cc2200\"> <span lang=\"EN-US\"></span><span style=\"color: #cc2200\">engine</span></span></span></u></a><span style=\"color: #000000\"> จนเสร็จ ขั้นตอนวิธีของเอดานั้นจึงไม่ได้มีการใช้จริง<u1:p></u1:p></span></span></span><span style=\"font-size: 7.5pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 11pt; color: #333333\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ถึงแม้ว่าขั้นตอนวิธีนั้นเป็น ขั้นตอนวิธี การแก้ปัญหา ที่ถูกระบุไว้อย่างชัดเจน แต่ก็ขาดรูปแบบการวิเคราะห์ในรูปแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่ชัดเจน ปัญหาในทางขั้นตอนวิธีนี้โดยส่วนมากจึงมักจะถูกวิเคราะห์โดยใช้ </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87\" title=\"เครื่องจักรทัวริง\"><span style=\"color: #0000ff\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เครื่องจักรทัวริง</span></u></span></a><span style=\"color: #000000\"> ซึ่งเป็นแบบจำลองนามธรรมของคอมพิวเตอร์ คิดค้นขึ้นโดย </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%99_%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87\" title=\"แอลัน ทัวริง\"><span style=\"color: #0000ff\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แอลัน ทัวริง</span></u></span></a><span style=\"color: #000000\"> ซึ่งเป็นเครื่องจักรที่ใช้ในการจำลองการทำงาน</span></span></span><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 11pt; color: #333333\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ของขั้นตอนวิธีใดๆ</span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 11pt; color: #333333\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 11pt; color: #333333\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><span style=\"font-size: 7.5pt; color: #333333\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><center><img border=\"0\" align=\"middle\" width=\"180\" src=\"/files/u18287/p_02.jpg\" alt=\"แอลัน ทัวริง\" height=\"241\" /></center></span></p>\n<p style=\"background: #f8fcff\">\n<span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff\">\n<span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"background: #f8fcff\">\n<span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 11pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p> </o:p></span></span><strong> <span style=\"font-size: 11pt\"><o:p><span style=\"color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span>                                                               ผู้ให้กำเนิดขั้นตอนวิธี</strong> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"70\" src=\"/files/u18287/home_copy.gif\" alt=\"กลับสู่หน้าหลัก\" height=\"76\" style=\"width: 47px; height: 53px\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726959200, expire = 1727045600, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5600d90eda498124811e74361bafa335' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 Algorithm

                ในการเขียนโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์ทำงานนั้น จำเป็นต้องมีหลักในการเขียนโปรแกรม โดยอาจเขียนเป็นคำอธิบายง่ายๆ ขึ้นมาก่อน หรือเขียนเป็นผังงาน เพื่อแสดงขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ก่อนที่จะนำไปเขียนเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่อไป นอกจากนี้การเขียนคำอธิบายการทำงาน หรือการเขียนผังงานยังทำให้การกลับมาศึกษาโปรแกรมในภายหลังทำได้ง่ายขึ้นอีกด้วย
              คำว่า Algorithm มีที่มาจากชื่อของนักคณิตศาสตร์ชาวเปอร์เซียในยุคศตวรรษที่ 9 อะบู อับดิลลาหฺ บิน มูซา อัลคอวาริซมีย์ (Abu Abdillah Muhammad bin Musa al-Khawarizmi) คำว่า al-Khawarizmi ได้เพี้ยนเป็น Algoritmi เมื่องานเขียนของเขาได้รับการแปลเป็นภาษาละติน แล้วกลายเป็น Algorithm อัลกอริทึม ซึ่งใช้หมายถึงกฎที่ใช้ในการคิดคำนวณเลขคณิต และได้กลายมาเป็นคำ ขั้นตอนวิธี ในช่วงศตวรรษที่ 18. ในปัจจุบัน คำนี้ได้มีความหมายที่กว้างขึ้น หมายรวมถึง ขั้นตอนวิธีการในการแก้ปัญหาต่างๆ        ขั้นตอนวิธีแรกสำหรับคอมพิวเตอร์นั้น เขียนขึ้นในปี ค.ศ. 1842 โดย เอดา ไบรอน ใน notes on the analytical engine ทำให้ถือกันว่า เอดาเป็นนักพัฒนาโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก แต่เนื่องจาก ชาร์ลส แบบเบจ ไม่ได้สร้าง analytical engine จนเสร็จ ขั้นตอนวิธีของเอดานั้นจึงไม่ได้มีการใช้จริง ถึงแม้ว่าขั้นตอนวิธีนั้นเป็น ขั้นตอนวิธี การแก้ปัญหา ที่ถูกระบุไว้อย่างชัดเจน แต่ก็ขาดรูปแบบการวิเคราะห์ในรูปแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่ชัดเจน ปัญหาในทางขั้นตอนวิธีนี้โดยส่วนมากจึงมักจะถูกวิเคราะห์โดยใช้ เครื่องจักรทัวริง ซึ่งเป็นแบบจำลองนามธรรมของคอมพิวเตอร์ คิดค้นขึ้นโดย แอลัน ทัวริง ซึ่งเป็นเครื่องจักรที่ใช้ในการจำลองการทำงานของขั้นตอนวิธีใดๆ

แอลัน ทัวริง

                                                                  ผู้ให้กำเนิดขั้นตอนวิธี

 

 

กลับสู่หน้าหลัก

 

สร้างโดย: 
ว่าที่ ร.ต. อัศวิน สุรวัชโยธิน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 667 คน กำลังออนไลน์