• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ไม่พบหน้าที่เรียก | Page not found', 'node/207', '', '3.133.111.24', 0, 'f6e6a76f1e2cb6c759e4961763535c6b', 112, 1717053642) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:06ccf59282895cab873ef8f5efdc75f8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #000000\">การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี</span></span></strong>\n</p>\n<ul>\n<li>\n สมมติฐานการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี ของรัทเทอร์ฟอร์ดและซอดดี (Soddy)กล่าวว่า<br />\n        1. การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีเป็นการสลายตัวที่เกิดขึ้นเอง  โดยไม่ขึ้นกับสภาวะแวดล้อมของนิวเคลียส (เช่น การจัดตัวของอิเลคตรอน ความดัน อุณหภูมิ)<br />\n        2. การสลายตัวเป็นกระบวนการสุ่ม (Random Process) ในช่วงเวลาใดๆ ทุกๆ นิวเคลียสมีโอกาสที่จะสลายตัวเท่ากัน  ดังนั้น  ในช่วงเวลาหนึ่งๆ ปริมาณนิวเคลียสที่สลายตัวจึงเป็นสัดส่วนโดยตรงกับปริมาณนิวเคลียสที่เหลืออยู่</li>\n<li>อัตราการสลายของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี ในขณะหนึ่งจะแปรผันตรงกับจำนวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีนั้นที่มีอยู่ในขณะนั้น</li>\n</ul>\n<p align=\"center\">\nสูตร      <img border=\"0\" width=\"89\" src=\"/files/u19646/2009-11-29_153608.jpg\" height=\"53\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nโดย   λ เป็นค่าคงที่ของการแปรผัน เรียก ค่าคงตัวการสลาย (decay constant)\n</p>\n<ul>\n<li> อัตราการแผ่รังสีออกมาในขณะหนึ่ง คือ กัมมันตภาพ(activity)  มีสัญลักษณ์ A</li>\n</ul>\n<p align=\"center\">\nA   =   λN\n</p>\n<ul>\n<li>หน่วยวัดกัมมันตภาพ  นิยมวัดเป็นหน่วยคูรี่  โดย <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u19646/2009-11-29_153917.jpg\" height=\"31\" />Bq (เบคเคอเรล)</li>\n<li>การหาจำนวนนิวเคลียสเมื่อเทียบกับฟังก์ชันของเวลา <img border=\"0\" width=\"87\" src=\"/files/u19646/2009-11-29_153933.jpg\" height=\"39\" /></li>\n</ul>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"376\" src=\"/files/u19646/2009-11-29_153951.jpg\" height=\"297\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nกราฟแสดงการลดจำนวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี ณ เวลาต่างๆ\n</p>\n<ul>\n<li>ช่วงเวลาของการสลายที่จำนวนนิวเคลียสลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของจำนวนเริ่มต้น เรียกว่า ครึ่งชีวิต (Half Life) มีสัญลักษณ์ <img border=\"0\" width=\"40\" src=\"/files/u19646/2009-11-29_154021.jpg\" height=\"41\" /></li>\n</ul>\n<p align=\"center\">\nสูตร   <img border=\"0\" width=\"174\" src=\"/files/u19646/2009-11-29_154009.jpg\" height=\"45\" />\n</p>\n<ul>\n<li>การหาจำนวนนิวเคลียสโดยตรงนั้นทำได้ยาก  นิยมวัดจากกัมมันตภาพที่แผ่ออกมาดังสูตร</li>\n</ul>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"98\" src=\"/files/u19646/2009-11-29_154034.jpg\" height=\"47\" />\n</p>\n<ul>\n<li>สภาพสมดุลของธาตุกัมมันตรังสี  หมายถึง ในธรรมชาติมีธาตุกัมมันตรังสีที่สลายตัวแล้วกลายเป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่  แต่ธาตุใหม่ที่ได้นี้ยังไม่เสถียรภาพทีเดียว  จึงเกิดการสลายต่อไป จะพิจารณากรณีธาตุ A สลายตัวให้ธาตุ B สลายตัวให้ธาตุ C สูตรคือ</li>\n</ul>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"192\" src=\"/files/u19646/2009-11-29_154054.jpg\" height=\"30\" /> ดังนั้น <img border=\"0\" width=\"112\" src=\"/files/u19646/2009-11-29_154109.jpg\" height=\"35\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"487\" src=\"/files/u19646/2009-11-29_154125.jpg\" height=\"305\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nกราฟแสดงอัตราการสลายของธาตุ A จะเท่ากับอัตราการเกิดของธาตุ B\n</p>\n<ul>\n<li>เมื่อเวลาเพิ่มขึ้นปริมาณนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีจะลดลงเรื่อยๆ  แต่ปริมาณนิวเคลียสจะไม่ลดลงเป็นศูนย์  ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปเท่าใดก็ตาม  การพูดถึงเวลาที่ธาตุกัมมันตรังสีสลายตัวหมดจึงไม่มีความหมาย  ในทางทฤษฎีจึงพูดถึงเวลาที่ธาตุสลายตัวเหลือเป็นครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม </li>\n</ul>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/49974\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/022.gif\" height=\"43\" /></a>   <img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u19646/028.gif\" height=\"43\" />  <a href=\"/node/49954\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/019.gif\" height=\"43\" /></a>\n</p>\n<p align=\"right\">\n <a href=\"/node/42817\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/023.gif\" height=\"43\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">แหล่งที่มาของข้อมูล:</span>\n</p>\n<p>\n<a target=\"_blank\" href=\"http://www.sripatum.ac.th/online/physics5/k31.htm\"><img border=\"0\" width=\"43\" src=\"/files/u19646/018.gif\" height=\"43\" /></a> \n</p>\n', created = 1717053652, expire = 1717140052, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:06ccf59282895cab873ef8f5efdc75f8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การสลายกัมมันตรังสี

การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี

  • สมมติฐานการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี ของรัทเทอร์ฟอร์ดและซอดดี (Soddy)กล่าวว่า
           1. การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีเป็นการสลายตัวที่เกิดขึ้นเอง  โดยไม่ขึ้นกับสภาวะแวดล้อมของนิวเคลียส (เช่น การจัดตัวของอิเลคตรอน ความดัน อุณหภูมิ)
           2. การสลายตัวเป็นกระบวนการสุ่ม (Random Process) ในช่วงเวลาใดๆ ทุกๆ นิวเคลียสมีโอกาสที่จะสลายตัวเท่ากัน  ดังนั้น  ในช่วงเวลาหนึ่งๆ ปริมาณนิวเคลียสที่สลายตัวจึงเป็นสัดส่วนโดยตรงกับปริมาณนิวเคลียสที่เหลืออยู่
  • อัตราการสลายของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี ในขณะหนึ่งจะแปรผันตรงกับจำนวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีนั้นที่มีอยู่ในขณะนั้น

สูตร     

โดย   λ เป็นค่าคงที่ของการแปรผัน เรียก ค่าคงตัวการสลาย (decay constant)

  •  อัตราการแผ่รังสีออกมาในขณะหนึ่ง คือ กัมมันตภาพ(activity)  มีสัญลักษณ์ A

A   =   λN

  • หน่วยวัดกัมมันตภาพ  นิยมวัดเป็นหน่วยคูรี่  โดย Bq (เบคเคอเรล)
  • การหาจำนวนนิวเคลียสเมื่อเทียบกับฟังก์ชันของเวลา

กราฟแสดงการลดจำนวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี ณ เวลาต่างๆ

  • ช่วงเวลาของการสลายที่จำนวนนิวเคลียสลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของจำนวนเริ่มต้น เรียกว่า ครึ่งชีวิต (Half Life) มีสัญลักษณ์

สูตร  

  • การหาจำนวนนิวเคลียสโดยตรงนั้นทำได้ยาก  นิยมวัดจากกัมมันตภาพที่แผ่ออกมาดังสูตร

  • สภาพสมดุลของธาตุกัมมันตรังสี  หมายถึง ในธรรมชาติมีธาตุกัมมันตรังสีที่สลายตัวแล้วกลายเป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่  แต่ธาตุใหม่ที่ได้นี้ยังไม่เสถียรภาพทีเดียว  จึงเกิดการสลายต่อไป จะพิจารณากรณีธาตุ A สลายตัวให้ธาตุ B สลายตัวให้ธาตุ C สูตรคือ

 ดังนั้น

กราฟแสดงอัตราการสลายของธาตุ A จะเท่ากับอัตราการเกิดของธาตุ B

  • เมื่อเวลาเพิ่มขึ้นปริมาณนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีจะลดลงเรื่อยๆ  แต่ปริมาณนิวเคลียสจะไม่ลดลงเป็นศูนย์  ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปเท่าใดก็ตาม  การพูดถึงเวลาที่ธาตุกัมมันตรังสีสลายตัวหมดจึงไม่มีความหมาย  ในทางทฤษฎีจึงพูดถึงเวลาที่ธาตุสลายตัวเหลือเป็นครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม

 

 

    

 

 

แหล่งที่มาของข้อมูล:

 

สร้างโดย: 
นางสาวชลธิชา มุณีกาญจน์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 1 คน และ ผู้เยี่ยมชม 281 คน กำลังออนไลน์

รายชื่อสมาชิกที่ออนไลน์

  • pornchokchai