• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2db5db25619fab48136a73e2749e556b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u18480/banner2.gif\" height=\"113\" width=\"450\" />\n</div>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n <a href=\"http://thaigoodview.com/node/40807\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18480/home.gif\" height=\"75\" width=\"75\" /></a><a href=\"http://thaigoodview.com/node/40843\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18480/menu.gif\" height=\"75\" width=\"75\" /></a>                                                                                                  <a href=\"http://thaigoodview.com/node/49574\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18480/back.gif\" height=\"75\" width=\"75\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffff99\">โครงสร้างภายนอกของราก</span> \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u18480/root1.jpg\" style=\"width: 319px; height: 303px\" height=\"393\" width=\"388\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\nที่มารูปภาพ : <a href=\"http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-6524/pic1.jpeg\" title=\"http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-6524/pic1.jpeg\">http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-6524/pic...</a>\n</p>\n<p>\nโครงสร้างของปลายราก<br />\nปลายราก ( root tip ) ประกอบด้วยบริเวณต่างๆ 4 บริเวณ เรียงลำดับจากปลายสุดขึ้นมา ดังนี้\n</p>\n<p>\n<br />\n     <span style=\"background-color: #ff99cc\">1. บริเวณหมวกราก ( region of root cap)</span> ประกอบด้วยเซลล์ที่เรียงตัวกันอย่างหลวมๆ ทำหน้าที่ห่อหุ้มและป้องกันอันตรายให้กับเนื้อเยื่อเจริญ เซลล์ของหมวกรากจะฉีกขาดอยู่เสมอเมื่อรากยาวขึ้นและเจริญลงไปในดิน แต่เนื้อเยื่อเจริญก็จะสร้างหมวกรากใหม่อยู่เรื่อยๆ ผนังเซลล์ด้านนอกจะมีน้ำเมือกอยู่เสมอเพื่อช่วยให้ปลายรากเจริญเติบโตลงไปในดินได้สะดวก รากของพืชบกทั่วไปจะมีหมวกรากแต่รากของพืชน้ำมักไม่ปรากฎ ยกเว้นรากของแหน\n</p>\n<p>\n<br />\n    <span style=\"background-color: #ff99cc\"> 2. บริเวณเซลล์แบ่งตัว ( region of cell division )</span> เป็นบริเวณที่อยู่ถัดหมวกรากขึ้นไป ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเจริญ (meristem) ที่มีเซลล์ขนาดเล็ก ผนังเซลล์บาง ภายในมีโปรโตพลาสซึมมาก มีการแบ่งตัวแบบไมโทซิส (mitosis) ตลอดเวลา ทำให้มีจำนวนเซลล์เพิ่มมากขึ้น บางส่วนจะเจริญเป็นหมวกราก บางส่วนจะเจริญเป็นเซลล์ที่มีรูปร่างยาวขึ้นอยู่ในบริเวณที่สูงถัดจากบริเวณนี้ขึ้นไป\n</p>\n<p>\n<br />\n   <span style=\"background-color: #ff99cc; color: #000000\">  3. บริเวณเซลล์ยืดตัว หรือ บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว ( region of cell elongation )</span> เป็นกลุ่มเซลล์ที่เจริญมาจากการแบ่งเซลล์ เซลล์ในบริเวณนี้มีแวคิวโอล (vacuole) ใหญ่ ขนาดเซลล์ก็ขยายใหญ่กว่าบริเวณเซลล์แบ่งตัว โดยเฉพาะในทางความยาวจะยาวอย่างรวดเร็ว เป็นผลทำให้รากยาวขึ้น\n</p>\n<p>\n<br />\n    <span style=\"background-color: #ff99cc\"> 4. บริเวณเซลล์มีการเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่เฉพาะและเจริญเติบโตเต็มที่ ( region of cell diferentiation and maturation )</span> เซลล์บริเวณนี้เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปต่างๆกัน ผนังเซลล์หนาขึ้น มีการแบ่งกลุ่มของเซลล์เป็นเนื้อเยื่อชนิดต่างๆได้ชัดเจน โดยผิวรอบนอกของรากจะเป็น epidermis ถัดเข้าไปเป็น cortex และ stele <br />\nในบริเวณนี้จะพบว่ารากแตกต่างจากลำต้นอย่างเด่นชัด epidermis ของรากในบริเวณนี้มีขนราก (root hair) แตกออกมาโดยรอบเพื่อทำหน้าที่ดูดน้ำและเกลือแร่จากดิน ขนรากมีอายุสั้นมาก เจริญเติบโตโดยผนังของเซลล์เอพิเดอร์มิส (epidermal cell) ยื่นยาวออกไปโดยไม่มีผนังกั้น เรียกเซลล์เอพิเดอร์มิสที่มีขนรากว่าเซลล์ขนราก (root hair cell)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\nที่มาของข้อมูล :  <a href=\"http://yaipu.blogspot.com/2009/06/blog-post_20.html\" title=\"http://yaipu.blogspot.com/2009/06/blog-post_20.html\">http://yaipu.blogspot.com/2009/06/blog-post_20.html</a>\n</p>\n<p>\n                       <a href=\"http://www.lks.ac.th/student/kroo_aumara/bio02/s1_2.htm\" title=\"http://www.lks.ac.th/student/kroo_aumara/bio02/s1_2.htm\">http://www.lks.ac.th/student/kroo_aumara/bio02/s1_2.htm</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1729503039, expire = 1729589439, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2db5db25619fab48136a73e2749e556b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โครงสร้างของราก 2


                                                                                                  

โครงสร้างภายนอกของราก 

ที่มารูปภาพ : http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-6524/pic...

โครงสร้างของปลายราก
ปลายราก ( root tip ) ประกอบด้วยบริเวณต่างๆ 4 บริเวณ เรียงลำดับจากปลายสุดขึ้นมา ดังนี้


     1. บริเวณหมวกราก ( region of root cap) ประกอบด้วยเซลล์ที่เรียงตัวกันอย่างหลวมๆ ทำหน้าที่ห่อหุ้มและป้องกันอันตรายให้กับเนื้อเยื่อเจริญ เซลล์ของหมวกรากจะฉีกขาดอยู่เสมอเมื่อรากยาวขึ้นและเจริญลงไปในดิน แต่เนื้อเยื่อเจริญก็จะสร้างหมวกรากใหม่อยู่เรื่อยๆ ผนังเซลล์ด้านนอกจะมีน้ำเมือกอยู่เสมอเพื่อช่วยให้ปลายรากเจริญเติบโตลงไปในดินได้สะดวก รากของพืชบกทั่วไปจะมีหมวกรากแต่รากของพืชน้ำมักไม่ปรากฎ ยกเว้นรากของแหน


     2. บริเวณเซลล์แบ่งตัว ( region of cell division ) เป็นบริเวณที่อยู่ถัดหมวกรากขึ้นไป ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเจริญ (meristem) ที่มีเซลล์ขนาดเล็ก ผนังเซลล์บาง ภายในมีโปรโตพลาสซึมมาก มีการแบ่งตัวแบบไมโทซิส (mitosis) ตลอดเวลา ทำให้มีจำนวนเซลล์เพิ่มมากขึ้น บางส่วนจะเจริญเป็นหมวกราก บางส่วนจะเจริญเป็นเซลล์ที่มีรูปร่างยาวขึ้นอยู่ในบริเวณที่สูงถัดจากบริเวณนี้ขึ้นไป


     3. บริเวณเซลล์ยืดตัว หรือ บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว ( region of cell elongation ) เป็นกลุ่มเซลล์ที่เจริญมาจากการแบ่งเซลล์ เซลล์ในบริเวณนี้มีแวคิวโอล (vacuole) ใหญ่ ขนาดเซลล์ก็ขยายใหญ่กว่าบริเวณเซลล์แบ่งตัว โดยเฉพาะในทางความยาวจะยาวอย่างรวดเร็ว เป็นผลทำให้รากยาวขึ้น


     4. บริเวณเซลล์มีการเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่เฉพาะและเจริญเติบโตเต็มที่ ( region of cell diferentiation and maturation ) เซลล์บริเวณนี้เปลี่ยนแปลงรูปร่างไปต่างๆกัน ผนังเซลล์หนาขึ้น มีการแบ่งกลุ่มของเซลล์เป็นเนื้อเยื่อชนิดต่างๆได้ชัดเจน โดยผิวรอบนอกของรากจะเป็น epidermis ถัดเข้าไปเป็น cortex และ stele
ในบริเวณนี้จะพบว่ารากแตกต่างจากลำต้นอย่างเด่นชัด epidermis ของรากในบริเวณนี้มีขนราก (root hair) แตกออกมาโดยรอบเพื่อทำหน้าที่ดูดน้ำและเกลือแร่จากดิน ขนรากมีอายุสั้นมาก เจริญเติบโตโดยผนังของเซลล์เอพิเดอร์มิส (epidermal cell) ยื่นยาวออกไปโดยไม่มีผนังกั้น เรียกเซลล์เอพิเดอร์มิสที่มีขนรากว่าเซลล์ขนราก (root hair cell)

 


ที่มาของข้อมูล :  http://yaipu.blogspot.com/2009/06/blog-post_20.html

                       http://www.lks.ac.th/student/kroo_aumara/bio02/s1_2.htm

 

 

สร้างโดย: 
black witch

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 443 คน กำลังออนไลน์