• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:cea762923f8f041d8bcbf5da6c286171' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<strong><u>Phylum Plathyhelminthes</u></strong>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 51px; height: 10px\" height=\"15\" width=\"75\" />มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Triploblastica animal) เป็นพวกแรก ไม่มีช่องว่างภายในลำตัว (Acoelomate) ลำตัวแบนด้านบนด้านล่าง ยกเว้นใบไม้ในเลือดที่มีลำตัวกลม ไม่มีข้อหรือปล้องที่แท้จริง (non metameric)  มีสมมาตรแบบ Bilateral symmetry มีระบบทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์ (Incomplete digestive tract) ยกเว้นพยาธิตัวตืดไม่มีระบบทางเดินอาหาร ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด ไม่มีอวัยวะหายใจ โดยพวกปรสิตจะสามารถหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน ส่วนพวกที่อิสระสามารถหายใจทางผิวหนังได้เป็นพวกแรกที่มีระบบขับถ่ายและระบบประสาท โดยมีอวัยวะกาขับถ่ายคือ <strong>เฟลมเซลล์ (Flame cell)</strong> แทรกอยู่ตามร่างกายทั่วไป และมีปมประสาทแบบเส้นประสาททำหน้าที่เป็นศูนย์กลางระบบประสาท ปมประสาทขนาดใหญ่อยู่ด้านบนคล้ายสมองแตกแขนงไปทางด้านข้างของร่างกาย มีกล้ามเนื้อทางตามยาวและตามขวางสลับกันหดตัวเรียก Antagonism โดยเป็นสัตว์พวกแรกที่มีระบบ Antagonism ระบบสืบพันธุ์เจริญดีมาก มี 2 เพศในตัวเดียวกันเรียกว่าเป็น<strong> กระเทย (Hernaphrodite)</strong>  สามารถผสมพันธุ์กันเองในตัวเดียวกันและผสมพันธุ์ข้ามตัวในพยาธิตัวตืดและพยาธิตัวตืด การเพิ่มจำนวนข้อปล้อง จัดว่าเป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19289/flatwormexcret.gif\" alt=\"http://www.cartage.org.lb/en/themes/Sciences/Lifescience/GeneralBiology/Physiology/ExcretorySystem/Invertebrate/flatwormexcret.gif\" style=\"width: 409px; height: 359px\" height=\"406\" width=\"440\" />\n</p>\n<p>\nPhylum Plathyhelminthes แบ่งออกเป็น 3 Class ได้แก่<br />\n<strong><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 24px; height: 11px\" height=\"15\" width=\"75\" /><strong></strong>1. Class Turbellaria</strong> เช่น ซึงดำรงชีพโดยหากินอย่างอิสระ<br />\n<strong><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 24px; height: 11px\" height=\"15\" width=\"75\" /><strong></strong>2. Class Trematoda</strong> เช่น พยาธิใบไม้ชนิดต่างๆ ซึ่งดำรงชีพโดยการเป็นปาราสิต<br />\n<strong><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 24px; height: 11px\" height=\"15\" width=\"75\" />3. Class Cestoda</strong> เช่น พยาธิตัวตืด ซึ่งดำรงชีพโดยเป็นปาราสิต\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1_1.gif\" alt=\"http://www.tomyfarm.com/library/wp-content/uploads/2009/09/Planaria.jpg\" style=\"width: 226px; height: 179px\" height=\"411\" width=\"420\" />     <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/untitled_copy.gif\" alt=\"http://หมออนามัย.com/wp-content/uploads/2009/09/trichuris1.jpg\" style=\"width: 275px; height: 178px\" height=\"252\" width=\"400\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>พลานาเรีย                                                               พยาธิใบไม้</strong>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\nที่มา : <a href=\"http://www.maryvit.ac.th/viboon/sci/bio/bio3.htm\"><u><span style=\"color: #810081\">http://www.maryvit.ac.th/viboon/sci/bio/bio3.htm</span></u></a><br />\n         <a href=\"http://www.snr.ac.th/m4html/w4html/animalia.htm\"><u><span style=\"color: #810081\">http://www.snr.ac.th/m4html/w4html/animalia.htm</span></u></a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/41856?page=0%2C4\" title=\"กลับอาณาจักร 5\"><span style=\"color: #000000\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/home-button.gif\" style=\"width: 53px; height: 52px\" height=\"31\" width=\"33\" /></span></a><span style=\"color: #000000\">  </span>  <a href=\"/node/49220\" title=\"กลับอาณาจักรสัตว์\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/home-button.gif\" height=\"31\" width=\"33\" /></a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n   \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1729503237, expire = 1729589637, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:cea762923f8f041d8bcbf5da6c286171' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อาณาจักรสัตว์ : Phylum Plathyhelminthes

 


Phylum Plathyhelminthes

มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Triploblastica animal) เป็นพวกแรก ไม่มีช่องว่างภายในลำตัว (Acoelomate) ลำตัวแบนด้านบนด้านล่าง ยกเว้นใบไม้ในเลือดที่มีลำตัวกลม ไม่มีข้อหรือปล้องที่แท้จริง (non metameric)  มีสมมาตรแบบ Bilateral symmetry มีระบบทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์ (Incomplete digestive tract) ยกเว้นพยาธิตัวตืดไม่มีระบบทางเดินอาหาร ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด ไม่มีอวัยวะหายใจ โดยพวกปรสิตจะสามารถหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน ส่วนพวกที่อิสระสามารถหายใจทางผิวหนังได้เป็นพวกแรกที่มีระบบขับถ่ายและระบบประสาท โดยมีอวัยวะกาขับถ่ายคือ เฟลมเซลล์ (Flame cell) แทรกอยู่ตามร่างกายทั่วไป และมีปมประสาทแบบเส้นประสาททำหน้าที่เป็นศูนย์กลางระบบประสาท ปมประสาทขนาดใหญ่อยู่ด้านบนคล้ายสมองแตกแขนงไปทางด้านข้างของร่างกาย มีกล้ามเนื้อทางตามยาวและตามขวางสลับกันหดตัวเรียก Antagonism โดยเป็นสัตว์พวกแรกที่มีระบบ Antagonism ระบบสืบพันธุ์เจริญดีมาก มี 2 เพศในตัวเดียวกันเรียกว่าเป็น กระเทย (Hernaphrodite)  สามารถผสมพันธุ์กันเองในตัวเดียวกันและผสมพันธุ์ข้ามตัวในพยาธิตัวตืดและพยาธิตัวตืด การเพิ่มจำนวนข้อปล้อง จัดว่าเป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ

http://www.cartage.org.lb/en/themes/Sciences/Lifescience/GeneralBiology/Physiology/ExcretorySystem/Invertebrate/flatwormexcret.gif

Phylum Plathyhelminthes แบ่งออกเป็น 3 Class ได้แก่
1. Class Turbellaria เช่น ซึงดำรงชีพโดยหากินอย่างอิสระ
2. Class Trematoda เช่น พยาธิใบไม้ชนิดต่างๆ ซึ่งดำรงชีพโดยการเป็นปาราสิต
3. Class Cestoda เช่น พยาธิตัวตืด ซึ่งดำรงชีพโดยเป็นปาราสิต

 http://www.tomyfarm.com/library/wp-content/uploads/2009/09/Planaria.jpg     http://หมออนามัย.com/wp-content/uploads/2009/09/trichuris1.jpg

พลานาเรีย                                                               พยาธิใบไม้


ที่มา : http://www.maryvit.ac.th/viboon/sci/bio/bio3.htm
         http://www.snr.ac.th/m4html/w4html/animalia.htm


    


   

 

สร้างโดย: 
นางสาว ชิดชนก รักษ์ถาววรวงศ์ ; อาจารย์ที่ปรึกษา : นาย สมบูรณ์ กมลาสนางกูร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 408 คน กำลังออนไลน์