• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:37a9fac828b12d4061a5e06f721ebb10' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 26pt; color: #ff5050; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                       <u><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19992/33490.gif\" height=\"120\" style=\"width: 63px; height: 69px\" />สาเหตุการเกิดมลพิษทางดิน<img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19992/33490.gif\" height=\"120\" style=\"width: 63px; height: 69px\" /></u></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 26pt; color: #ff5050; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 26pt; color: #ff5050; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">        </span></b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #ff2f97\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #ff9900; font-family: \'Angsana New\'\">1. <span lang=\"TH\">การใช้ปุ๋ยทางวิทยาศาสตร์ เพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรแบ่งได้เป็น </span>2 <span lang=\"TH\">กลุ่มใหญ่ คือ ปุ๋ยเคมีที่ประกอบด้วยธาตุหลักสำคัญของพืช ได้แก่ ไนโตรเจน(</span>N) <span lang=\"TH\">ฟอสฟอรัส(</span>P) <span lang=\"TH\">และโพแตสเซียม(</span>K)<span lang=\"TH\">เมื่อใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้ดินเปรี้ยว มีสภาพความเป็นกรดสูงไม่เหมาะสมแก่การปลูกพืชทั้งนี้อาจมีปัจจัยอื่นๆที่เข้ามาเกี่ยวข้องคือ การเพาะปลูกที่ไม่ถูกวิธีทำให้ดินเกิดการเสื่อมโทรม หรืออาจเกิดจากธรรมชาติเป็นผู้ทำลายทรัพยากรดินได้</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #ff9900; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff2f97\">         </span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff2f97\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff2f97\">           </span><span style=\"color: #cc9900\">2. <span lang=\"TH\">การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช</span> (pesticides) <span lang=\"TH\">ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะมีฤทธิ์ทำลายสิ่งมีชีวิตทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นชนิดที่ให้ประโยชน์หรือโทษต่อการเกษตรกรรม แม้แต่ผลกระทบต่อมนุษย์ด้วย สารเคมีที่สลายตัวได้ช้าจะตกค้างในดิน เช่นสารประเภทคลอริเนเตตไฮโดรคาร์บอนหรือออร์กะโนคลอรีน (</span>organochlorine) <span lang=\"TH\">เป็นสารประกอบที่ด้วยอะตอมคลอรีน (</span>Cl) <span lang=\"TH\">ได้แก่ ดีดีที (</span>DDT) <span lang=\"TH\">ที่ใช้ในการเพาะปลูกการควบคุมการแพร่ระบาดของมาลาเรีย และการควบคุมแมลงอื่นๆ</span>, <span lang=\"TH\">ดิลดรีน (</span>dieldrin) <span lang=\"TH\">ที่ใช้ในกำจัดแมลงในการเกษตรและ กำจัดปลวก</span>, <span lang=\"TH\">อัลดรีน (</span>aldrin) <span lang=\"TH\">ที่ใช้ในการเพาะปลูก กำจัดปลวกและแมลง การสะสมของสารเคมีที่ใช้กำจัดศัตรูพืชต่างๆ จะทำให้เกิดมลพิษทางดินต่อไป </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #ff2f97\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff2f97\">         </span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff2f97\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #ff2f97\">            </span></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #996600\">3. <span lang=\"TH\">การปล่อยให้น้ำเสียจากกระบวนการผลิต น้ำเสียส่วนใหญ่ที่มาจากกระบวนการเหล่านี้จะเกิดการชะล้างผ่านสารเคมีต่างๆ ในอุตสาหกรรม เช่น สารพีซีบี (</span>PCB) <span lang=\"TH\">ที่ใช้ในการผลิตสีและพลาสติก สารเอชซีบี (</span>HCB) <span lang=\"TH\">ที่ใช้ในการผลิตยางสังเคราะห์</span><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; color: maroon; font-family: \'Angsana New\'\">        4. <span lang=\"TH\">การทิ้งขยะ มลพิษทางดินส่วนใหญ่เกิดจากการทิ้งขยะที่เกิดจากสารเคมีซึ่งยากต่อการย่อยสลายเช่น กระป๋อง เศษโลหะ และพลาสติก ขยะเหล่านี้จะสะสมในดินจนทำให้เกิดภาวะมลพิษทางดิน นอกจากนี้ปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นหากไม่มีการกำจัดที่ถูกวิธีจะส่งผลกระทบให้เกิดมลพิษทางดินมากขึ้น</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n                                                                <a href=\"/node/50002\"><img border=\"0\" width=\"160\" src=\"/files/u19992/666666666.png\" height=\"100\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727720237, expire = 1727806637, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:37a9fac828b12d4061a5e06f721ebb10' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สาเหตุการเกิดมลพิษทางดิน

 

 

                       สาเหตุการเกิดมลพิษทางดิน

         1. การใช้ปุ๋ยทางวิทยาศาสตร์ เพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตรแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ ปุ๋ยเคมีที่ประกอบด้วยธาตุหลักสำคัญของพืช ได้แก่ ไนโตรเจน(N) ฟอสฟอรัส(P) และโพแตสเซียม(K)เมื่อใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้ดินเปรี้ยว มีสภาพความเป็นกรดสูงไม่เหมาะสมแก่การปลูกพืชทั้งนี้อาจมีปัจจัยอื่นๆที่เข้ามาเกี่ยวข้องคือ การเพาะปลูกที่ไม่ถูกวิธีทำให้ดินเกิดการเสื่อมโทรม หรืออาจเกิดจากธรรมชาติเป็นผู้ทำลายทรัพยากรดินได้         

           2. การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (pesticides) ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะมีฤทธิ์ทำลายสิ่งมีชีวิตทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นชนิดที่ให้ประโยชน์หรือโทษต่อการเกษตรกรรม แม้แต่ผลกระทบต่อมนุษย์ด้วย สารเคมีที่สลายตัวได้ช้าจะตกค้างในดิน เช่นสารประเภทคลอริเนเตตไฮโดรคาร์บอนหรือออร์กะโนคลอรีน (organochlorine) เป็นสารประกอบที่ด้วยอะตอมคลอรีน (Cl) ได้แก่ ดีดีที (DDT) ที่ใช้ในการเพาะปลูกการควบคุมการแพร่ระบาดของมาลาเรีย และการควบคุมแมลงอื่นๆ, ดิลดรีน (dieldrin) ที่ใช้ในกำจัดแมลงในการเกษตรและ กำจัดปลวก, อัลดรีน (aldrin) ที่ใช้ในการเพาะปลูก กำจัดปลวกและแมลง การสะสมของสารเคมีที่ใช้กำจัดศัตรูพืชต่างๆ จะทำให้เกิดมลพิษทางดินต่อไป          

            3. การปล่อยให้น้ำเสียจากกระบวนการผลิต น้ำเสียส่วนใหญ่ที่มาจากกระบวนการเหล่านี้จะเกิดการชะล้างผ่านสารเคมีต่างๆ ในอุตสาหกรรม เช่น สารพีซีบี (PCB) ที่ใช้ในการผลิตสีและพลาสติก สารเอชซีบี (HCB) ที่ใช้ในการผลิตยางสังเคราะห์

 

 

        4. การทิ้งขยะ มลพิษทางดินส่วนใหญ่เกิดจากการทิ้งขยะที่เกิดจากสารเคมีซึ่งยากต่อการย่อยสลายเช่น กระป๋อง เศษโลหะ และพลาสติก ขยะเหล่านี้จะสะสมในดินจนทำให้เกิดภาวะมลพิษทางดิน นอกจากนี้ปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นหากไม่มีการกำจัดที่ถูกวิธีจะส่งผลกระทบให้เกิดมลพิษทางดินมากขึ้น

                                                               

 

สร้างโดย: 
นางสาวปิยะวดี ศรีผง และ นางสาวดวงรัตน์ สุขกลัด ม.6/7 ร.ร.กาญจนาภิเษกวิทยาลัย นครปฐม (พระตำหนักสวนกุหลาบมัธยม)

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 368 คน กำลังออนไลน์