• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:23cfa4988c76809fe52c434ee71828c6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20246/434.gif\" height=\"120\" width=\"100\" /></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">ใช้ความรู้ไม่เกินระดับมัธยมต้น ก็พอจะพิสูจน์ได้โดยใช้เรื่อง</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">สมการ (Equation) และเอกลักษณ์ (Indetity)  </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">ลองดูกันต่อไปว่า ท่านพิสูจน์ หรือค้นหากฎเกณฑ์ตามวิธีการดังนี้หรือเปล่า <br />\n</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">เกมในลักษณะเช่นนี้มีอยู่มากมาย ซึ่งถ้าผู้ทายมีเทคนิคการทายที่ดีก็จะทำให้น่าสนใจมาก </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">แต่ทั้งผู้เล่นและผู้ทายที่เล่นเกมนี้ควรจะฝึกหาหลักเกณฑ์หรือเกณฑ์ในทางคณิตศาสตร์</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">ที่นำมาอ้างอิงกฎที่ใช้ในการทายให้ได้ด้วย ก็จะมีประโยชน์มากกว่าที่จะเล่นกันเพียงเพื่อความสนุกเท่านั้น </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">เพราะนอกจากจะเป็นการใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ที่เรียนมาแล้ว </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">อาจจะทำให้ค้นพบหลักเกณฑ์หรือเทคนิคในการเล่นเกมใหม่ ๆ ได้ด้วย</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\"><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></span></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20246/picline1.gif\" height=\"40\" width=\"473\" /></span></span>\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">มีข้อสังเกตอย่างหนึ่ง ซึ่งผู้เล่นมักจะลืมหรือละเลยความสนใจไปก็คือ </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">ข้อกำหนดหรือขอบเขตของกฎเกณฑ์ที่นำมาใช้</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\"></span></strong><strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">จากเกมข้างต้นที่กล่าวมา มีปัญหาที่น่าสนใจอย่างหนึ่งคือ </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">ถ้าเลขบ้านที่ผู้ตอบคิดไว้เป็นเลขที่มากกว่า 2 หลัก หลักการคิดดังกล่าวจะยังคงใช้ได้หรือไม่ </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">เพราะในการแสดงวิธีคิดนั้น ได้แสดงเฉพาะในกรณีที่บ้านเลขที่เป็นเลข 2 หลักเท่านั้น </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">ถ้าจะให้มั่นใจว่ากฎเกณฑ์เดียวกันนี้จะใช้ได้ ก็ควรจะมีการพิสูจน์กฎเกณฑ์ดังกล่าว</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">ในกรณีที่เลขบ้านเป็นเลข 3 หลักหรือ 4 หลัก ฯลฯ ด้วย </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">ขอให้ผู้อ่านลองพิสูจน์กฎเกณฑ์ด้วยตนเองในกรณีที่เลขบ้านเป็นเลข 3 หลัก </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">(โดยการกำหนดให้เลขบ้านเขียนในรูป abc ซึ่งในที่นี้ไม่ได้หมายถึง a คูณกับ c แต่เป็นลัญลักษณ์แทนจำนวน ซึ่งมีค่าเป็น </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\">100a +10 b +c )</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\"><strong><a href=\"/node/49733\"><span style=\"color: #ff6600\"> </span></a><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\"><a href=\"/node/49733\"><span style=\"color: #ff6600\">&lt;&lt;กลับไปก่อนหน้า</span></a><span style=\"background-color: #ffffff\">                                   </span><a href=\"/node/49737\"><span style=\"color: #ff6600\">&gt;&gt;อ่านต่อ</span></a></span></strong><span style=\"background-color: #ffffff\"> </span></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff6600\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><a href=\"/node/43104\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20246/kapook_42700.gif\" height=\"126\" width=\"85\" /></a></span></span></strong>\n</p>\n', created = 1726790186, expire = 1726876586, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:23cfa4988c76809fe52c434ee71828c6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ปัญหาคณิตศาสตร์4

ใช้ความรู้ไม่เกินระดับมัธยมต้น ก็พอจะพิสูจน์ได้โดยใช้เรื่อง

สมการ (Equation) และเอกลักษณ์ (Indetity) 

ลองดูกันต่อไปว่า ท่านพิสูจน์ หรือค้นหากฎเกณฑ์ตามวิธีการดังนี้หรือเปล่า

เกมในลักษณะเช่นนี้มีอยู่มากมาย ซึ่งถ้าผู้ทายมีเทคนิคการทายที่ดีก็จะทำให้น่าสนใจมาก

แต่ทั้งผู้เล่นและผู้ทายที่เล่นเกมนี้ควรจะฝึกหาหลักเกณฑ์หรือเกณฑ์ในทางคณิตศาสตร์

ที่นำมาอ้างอิงกฎที่ใช้ในการทายให้ได้ด้วย ก็จะมีประโยชน์มากกว่าที่จะเล่นกันเพียงเพื่อความสนุกเท่านั้น

เพราะนอกจากจะเป็นการใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ที่เรียนมาแล้ว

อาจจะทำให้ค้นพบหลักเกณฑ์หรือเทคนิคในการเล่นเกมใหม่ ๆ ได้ด้วย

 

มีข้อสังเกตอย่างหนึ่ง ซึ่งผู้เล่นมักจะลืมหรือละเลยความสนใจไปก็คือ

ข้อกำหนดหรือขอบเขตของกฎเกณฑ์ที่นำมาใช้

จากเกมข้างต้นที่กล่าวมา มีปัญหาที่น่าสนใจอย่างหนึ่งคือ

ถ้าเลขบ้านที่ผู้ตอบคิดไว้เป็นเลขที่มากกว่า 2 หลัก หลักการคิดดังกล่าวจะยังคงใช้ได้หรือไม่

เพราะในการแสดงวิธีคิดนั้น ได้แสดงเฉพาะในกรณีที่บ้านเลขที่เป็นเลข 2 หลักเท่านั้น

ถ้าจะให้มั่นใจว่ากฎเกณฑ์เดียวกันนี้จะใช้ได้ ก็ควรจะมีการพิสูจน์กฎเกณฑ์ดังกล่าว

ในกรณีที่เลขบ้านเป็นเลข 3 หลักหรือ 4 หลัก ฯลฯ ด้วย

ขอให้ผู้อ่านลองพิสูจน์กฎเกณฑ์ด้วยตนเองในกรณีที่เลขบ้านเป็นเลข 3 หลัก

(โดยการกำหนดให้เลขบ้านเขียนในรูป abc ซึ่งในที่นี้ไม่ได้หมายถึง a คูณกับ c แต่เป็นลัญลักษณ์แทนจำนวน ซึ่งมีค่าเป็น

100a +10 b +c )

 <<กลับไปก่อนหน้า                                   >>อ่านต่อ

สร้างโดย: 
นางสาวธนิกานต์ ชนะพงษ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 463 คน กำลังออนไลน์