• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1e4cb48a814ff6106df691c9c96c2ff7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42185\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u19649/poolsaeree.gif\" height=\"200\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"80\" src=\"/files/u19649/47_20259_3232e5457d4cdac.gif\" height=\"65\" /> <img border=\"0\" width=\"153\" src=\"/files/u19649/rin.jpg\" height=\"28\" /> <img border=\"0\" width=\"80\" src=\"/files/u19649/47_20259_3232e5457d4cdac.gif\" height=\"65\" />\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #663300\"></span></strong></p>\n<p>\n<br />\n การเล่นตะกร้อในประเทศไทยเท่าที่ปรากฏมาแต่เดิมจนถึงปัจจุบันมีอยู่ ๘ ประการด้วยกันคือ\n</p>\n<p>\n<br />\n <br />\n<span style=\"color: #ff6600\">1. ตะกร้อวงเล็ก</span></p>\n<p>    ตะก้อวงนับเป็นการเริ่มแรกของรูปแบบการเล่นตะกร้อ ซึ่งอาจใช้ผู้เล่นเพียงคนเดียว เตะหรือเดาะลูก เล่นให้ลูกลอยอยู่</p>\n<p>ในอากาศและใช้อวัยวะหลายๆ ส่วนที่แตกต่างกันเตะหรือเดาะลูก โดยใช้ทั้งเท้า เข่า ศอก ศีรษะ ต่อมาอาจมีผู้เล่นเพิ่มเป็น </p>\n<p>2 คน มีการโยนให้ผู้ยืนอยู่ตรงข้ามเตะโต้กันเป็นเวลานานๆ โดยทั่วไปแล้วผู้เตะมักจะเตะลูกที่ตนถนัด เช่น ลูกแป ลูกหลัง</p>\n<p>เท้า ลูกโหม่ง เป็นต้น การเล่นตะกร้อวงเล็กนั้นจะเล่นในบริเวณที่แคบๆ เช่น บนโต๊ะ หรือสนามซึ่งเส้นผ่านศูนย์กลาง</p>\n<p>ประมาณ 2 – 3 เมตร\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff6600\">2. ตะกร้อวงใหญ่</span> </p>\n<p>    ลักษณะและรูปแบบการเล่นเหมือนกับการเล่นตะกร้อวงเล็ก ต่างกันตรงที่สถานที่เล่นและจำนวนผู้เล่น กล่าวคือ ตะกร้อ</p>\n<p>วงใหญ่จะเล่นในสนามเรียบมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 8 – 14 เมตร ซึ่งอยู่กับผู้เล่นว่าจะมีจำนวนเท่าใด โดยปกติ</p>\n<p>แล้วจะมีผู้เล่นตั้งแต่ 5 – 8 คน ท่าทางการเล่นนั้นก็มีลักษณะเช่นเดียวกับการเล่นตะกร้อวงเล็ก แต่ตะกร้อวงใหญ่ต้องออก</p>\n<p>แรงเตะลูกหรือส่งลูกมากกว่า มิฉะนั้นตะกร้อจะไม่ถึงผู้รับ ผู้เล่นต้องระมัดระวังจังหวะการเล่น ท่าทางต่างๆ ตลอดจนน้ำหนัก</p>\n<p>หรือแรงเหวี่ยงให้เหมาะสม\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff6600\">3. ตะกร้อเตะทน<br />\n</span><br />\n    ตะกร้อเตะทนหรือตะกร้อวงเตะทน มักนิยมเล่นแข่งขันกันเป็นทีม จึงควรศึกษาไว้เพื่อนำไปเล่นกันต่อไป\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff6600\">4. ตะกร้อพลิกแพลง</span></p>\n<p>    ตะกร้อพลิกแพลง หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “การติดตะกร้อ” การเล่นตะกร้อแบบนี้ผู้เล่นต้องมีความชำนาญเป็นอย่างดี </p>\n<p>เพราะลูกที่ผู้เตะจะเตะแต่ละท่า ดัดแปลงมาจากท่าธรรมดา การเล่นตะกร้อพลิกแพลงนี้ส่วนมากไม่ทำการแข่งขัน เป็นเพียง</p>\n<p>เล่นกันเพื่ออวดลวดลายในการเตะเพื่อดูกันแปลกๆ และเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลินกันเท่านั้น วิธีเล่นก็ตั้งวงเหมือน</p>\n<p>ตะกร้อวง แต่ไม่ต้องขีดเส้นเหมือนตะกร้อวง ผู้เล่นจะมีตั้งแต่ 2 – 8 คน แต่ละคนก็จะเตะหรือใช้กระบวนท่าส่งลูกไปยังคู่ </p>\n<p>ซึ่งคู่โต้ก็จะแสดงท่าพลิกแพลงต่างๆ ในลักษณะที่เรียกกันว่า “ติดตะกร้อ” สักระยะเวลาหนึ่งแล้วก็จะส่งกลับไปยังผู้เล่นอื่น</p>\n<p>บ้าง ซึ่งผู้เล่นร่วมวงคนอื่นก็จะแสดงท่าพลิกแพลงที่แตกต่างกันออกไปอีก เช่น รับลูกตะกร้อที่ส่งมาด้วยหลังเท้าแล้วเตะ</p>\n<p>ลูกไม่ให้ตก จากนั้นก็เตะส่งลูกขึ้นไปติดค้างกับส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น ข้อพับ ขาหนีบ ซอกคอ ต้นคอ หน้าขา หรือ</p>\n<p>สงบนิ่งอยู่บนหลังเท้าและเมื่อได้จังหวะอีกก็เตะลูกใหม่ไปติดค้างอยู่ตามร่างกายส่วนอื่นๆ ได้อีก ผู้เล่นที่ชำนาญจะติด</p>\n<p>ตะกร้อได้ตั้งแต่หนึ่งลูก ไปจนถึง 17 ลูกก็มี\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">5. ตะกร้อชิงธง<br />\n</span><br />\n     ตะกร้อชิงธงหรือตะกร้อเตะช่วงชัย เป็นการแข่งขันตะกร้ออีกวิธีหนึ่ง คล้ายการแข่งขันวิ่งวัวหรือวิ่งเร็ว โดยขีด</p>\n<p>เส้นด้วยปูนขาวลงบนพื้น ทำเป็นช่องทางกว้างประมาณ ๓ เมตร ยาวประมาณ ๕๐ เมตร เมื่อผู้เข้าแข่งขันยืนประจำที่เส้นเริ่ม</p>\n<p>ต้น จากนั้นเมื่อได้ยินสัญญาณให้เลี้ยงตะกร้อด้วยอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย ยกเว้นมือ โดยพยายามพาลูกตะกร้อไปยัง</p>\n<p>ปลายทาง ซึ่งมีเส้นชัย มีธงปักไว้เป็นเครื่องหมาย ถ้าผู้เล่นคนใดสามารถเลี้ยงตะกร้อโดยไม่ออกนอกลู่ และไม่ตกพื้นจน</p>\n<p>กระทั่งถึงเส้นชัยก่อนจะเป็นผู้ชนะการแข่งขัน\n</p>\n<p> <br />\n<span style=\"color: #ff6600\">6. ตะกร้อลอดห่วง<br />\n</span><br />\n     ตะกร้อลอดห่วง มักเรียกวันหลายชื่อ เช่น ตะกร้อลอดบ่วง ตะกร้อห่วงชัย หลวงมงคลแมน ( สังข์ บูรณะศิริ )</p>\n<p>เป็นผู้ริเริ่มคิดขึ้นราวช่วง พ.ศ. 2470 – 2475 เริ่มมีการแข่งขึ้นครั้งแรกราว พ.ศ. 2476 ตะกร้อลอดห่วงมีผู้เล่น 7 คน </p>\n<p>สำรอง 3 คน สนามสำหรับสำหรับแข่งเป็นพื้นราบอยู่ในร่มหรือกลางแจ้งก็ได้ ในขณะที่เล่นจะเปลี่ยนตัวผู้เล่นไม่ได้ จะ</p>\n<p>เปลี่ยนได้ในคราวแข่งขันคราวต่อไป มีลวดสปริงขึงไว้ระหว่างเสาทั้งสองต้นซึ่งห่างกันประมาณ 20 เมตร ลวดสปริงที่ขึง</p>\n<p>นั้นสูงจากพื้น 8 เมตร มีรอกสำหรับแขวนห่วง 1 ตัว อยู่กึ่งกลางลวดสปริงห่วงชัยประกอบด้วยวงกลม 3 ห่วง ขนาดเท่ากัน</p>\n<p>จะทำด้วยโลหะ หวาย หรือไม้ก็ได้ ขอบล่างของห่วงต้องได้ระดับ สูงจากพื้นสนาม 5.75 เมตร เวลาลูกตะกร้อเข้าห่วง ให้</p>\n<p>หย่อนลงมาเพื่อนะลูกตะกร้อจากถุงห่วงและโยนขึ้นเล่นใหม่ มีผู้ชักรอก 1 คน ใช้เวลาในการแข่งขันครั้งละ 50 นาที ไม่มี</p>\n<p>พัก ผู้เล่นทั้ง 7 คน ยืนเป็นวงห่างกันพอสมควร การเตะลูกตะกร้อเข้าห่วงทำได้ทุกคนจะเตะลูกตะกร้อท่าใดก็ได้และมี</p>\n<p>คะแนนให้ทุกท่าและทุกลูกที่เข้าห่วง โดยให้คะแนนตามความยากง่ายของแต่ละท่า คณะตะกร้อชุดใดได้คะแนนมากในเวลา</p>\n<p>ที่กำหนดเป็นฝ่ายชนะ</p>\n<p>        รายละเอียดเกี่ยวกับกติกาการแข่งขันตะกร้อลอดห่วง ศึกษาได้จากสมาคมกีฬาไทยพระบรมราชูปถัมภ์และสมาคม</p>\n<p>ตะกร้อแห่งประเทศไทย หรือที่สำนักงานการกีฬาแห่งประเทศไทย ทุกแห่ง\n</p>\n<p> <br />\n<span style=\"color: #ff6600\">7. ตะกร้อข้ามตาข่าย<br />\n</span><br />\n    การเล่นตะกร้อข้ามตาข่ายแบบไทยนี้ เนื่องจากมีนักตะกร้อและนักแบดมินตันบางท่าน ซึ่งมี หลวงสำเร็จวรรณกิจ ขุนจรร</p>\n<p>ยาวิฑิต นายผล ผลาสินธุ์  และนายยิ้ม ศรีหงส์ เป็นคณะผู้ริเริ่มขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2472 โดยพยายามประยุกต์</p>\n<p>การเล่นตะกร้อกับแบดมินตันเข้าด้วยกันและเรียกกีฬาใหม่นี้ว่า “ตะกร้อข้ามตาข่าย” โดยมีการนับคะแนนแบบแบดมินตัน </p>\n<p>จนถึง พ.ศ. 2475 สมาคมกีฬาสยามซึ่งเป็นชื่อสมาคมในสมัยนั้น บัดนี้เปลี่ยนชื่อเป็นสมาคมกีฬาไทย ได้ขอให้หลวงคุณ</p>\n<p>วิชาสนอง ร่างกติกาตะกร้อข้ามตาข่ายขึ้น และ พ.ศ. 2476 จึงจัดให้มีการแข่งขันตะกร้อข้ามตาข่ายระหว่างประชาชนขึ้น</p>\n<p>เป็นครั้งแรกในงานฉลองรัฐธรรมนูญ ประจำปี พ.ศ. 2476 ปรากฏว่าต่อมามีผู้นิยมเล่นกันมากและแพร่หลายกันมากขึ้นตาม</p>\n<p>ลำดับ จนถึง พ.ศ. 2479 กรมพลศึกษาจึงจัดให้มีการแข่งขันตะกร้อข้ามตาข่ายระหว่างนักเรียนขึ้นเป็นครั้งแรก \n</p>\n<p><span style=\"color: #ff6600\"> <br />\n8. เซปักตะกร้อ<br />\n</span><br />\n    เซปักตะกร้อหรือตะกร้อข้ามตาข่ายแบบสากล เป็นกีฬาที่ได้พัฒนามาจนเป็นที่แพร่หลายไปเกือบทั่วโลก  </p>\n<p>ประเทศมาเลเซียเป็นผู้คิดค้นกติกาการเล่น ซึ่งลักษณะการเล่นเซปักตะกร้อคล้ายกับการเล่นตะกร้อข้ามตาข่ายของไทย </p>\n<p>แต่ต่างกันตรงรูปแบบ สนาม การเล่นลูก การนับคะแนน และกติกาการแล่น</p>\n<p>     ในปี พ.ศ. 2508 ในช่วงฤดูการแข่งขันกีฬาไทย ซึ่งมีการแข่งขันว่าว กระบี่กระบอง และตะกร้อ โดยสมาคมกีฬาไทย </p>\n<p>ณ ท้องสนามหลวง ราวเดือนมีนาคมและเมษายน ในปีนี้สนามคมตะกร้อจากปีนัง ประเทศมาเลเซีย ได้เชื่อมความสัมพันธ์</p>\n<p>เพื่อแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน ได้มีการแข่งขันตะกร้อของทั้งสองประเทศ นักกีฬาทีมชาติไทยมีความถนัด</p>\n<p>ในการเล่นตะกร้อแบบกติกาไทย ส่วนนักกีฬาทีมชาติมาเลเซีย มีความถนัดในการเล่นตะกร้อแบบกติกามาเลเซีย คณะ</p>\n<p>กรรมการจัดการแข่งขัน จึงได้กำหนดกติกาในการแข่งขันทั้งสองแบบ ผลการแข่งขันตะกร้อแบบกติกาไทย ปรากฏว่านัก</p>\n<p>กีฬาทีมชาติไทยชนะนักกีฬาทีมชาติมาเลเซียสองเซตรวด ส่วนการแข่งขันแบบกติกามาเลเซีย ปรากฏว่านักกีฬาทีมชาติ</p>\n<p>ไทยแพ้นักกีฬาทีมชาติมาเลเซียสิงเซตรวดเช่นเดียวกัน</p>\n<p>      ภายหลังการแข่งขันตะกร้อครั้งนั้น คณะผู้ประสานงานกีฬาตะกร้อของทั้งสองประเทศ ได้มีการประชุมเพื่อปรึกษาหา</p>\n<p>รือในการเผยแพร่กีฬาชนิดนี้ให้กว้างขวางเป็นที่นิยมต่อนาอารยประเทศ จึงได้ตกลงร่วมกันกำหนดชื่อกีฬานี้ขึ้นใหม่ ซึ่งทั้ง</p>\n<p>สองประเทศนี้ใช้ชื่อไม่เหมือนกัน ประเทศไทยใช้ชื่อว่า “กีฬาตะกร้อ” ส่วนมาเลเซียใช้ชื่อว่า “ซีปัก รากา” ซึ่งคำว่า รากา </p>\n<p>นั้น แปลว่าตะกร้อนั้นเอง คณะกรรมการประสานงานหรือสมาคมกีฬาของทั้งสองประเทศ จึงได้นำคำว่า SEPAK ของ</p>\n<p>มาเลเซีย มารวมกับคำว่า ตะกร้อ ของประเทศไทย รวมเป็นคำว่า SEPAK – TAKRAW หรือ เซปักตะกร้อมาตราบเท่าทุก</p>\n<p>วันนี้ และกีฬาเซปักตะกร้อได้บรรจุเข้าในการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย และบรรจุเข้า</p>\n<p>แข่งขันในกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๓ ที่กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"60\" src=\"/files/u19649/47_20259_b043d06703fd2a1.gif\" height=\"60\" /> <a href=\"/node/49132\" title=\"หน้า &quot;ตะกร้อ&quot; น่ะ\"><img border=\"0\" width=\"195\" src=\"/files/u19649/jumper.jpg\" height=\"33\" /></a>                              \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/43152\" title=\"คลิกเลยฮ่ะ\"><img border=\"0\" width=\"197\" src=\"/files/u19649/cup.jpg\" height=\"35\" /></a><br />\n <img border=\"0\" width=\"70\" src=\"/files/u19649/47_20259_978fda042fbba9a.gif\" height=\"70\" />  <a href=\"/node/43150\" title=\"คลิกโลดเด้อค่า\"><img border=\"0\" width=\"323\" src=\"/files/u19649/contents.jpg\" height=\"50\" /></a>  <img border=\"0\" width=\"70\" src=\"/files/u19649/47_20259_978fda042fbba9a.gif\" height=\"70\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"459\" src=\"/files/u19649/13.gif\" height=\"102\" />\n</div>\n<p></p>\n', created = 1719943674, expire = 1720030074, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1e4cb48a814ff6106df691c9c96c2ff7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประเภทของกีฬาตะกร้อ

 

  


 การเล่นตะกร้อในประเทศไทยเท่าที่ปรากฏมาแต่เดิมจนถึงปัจจุบันมีอยู่ ๘ ประการด้วยกันคือ


 
1. ตะกร้อวงเล็ก

    ตะก้อวงนับเป็นการเริ่มแรกของรูปแบบการเล่นตะกร้อ ซึ่งอาจใช้ผู้เล่นเพียงคนเดียว เตะหรือเดาะลูก เล่นให้ลูกลอยอยู่

ในอากาศและใช้อวัยวะหลายๆ ส่วนที่แตกต่างกันเตะหรือเดาะลูก โดยใช้ทั้งเท้า เข่า ศอก ศีรษะ ต่อมาอาจมีผู้เล่นเพิ่มเป็น 

2 คน มีการโยนให้ผู้ยืนอยู่ตรงข้ามเตะโต้กันเป็นเวลานานๆ โดยทั่วไปแล้วผู้เตะมักจะเตะลูกที่ตนถนัด เช่น ลูกแป ลูกหลัง

เท้า ลูกโหม่ง เป็นต้น การเล่นตะกร้อวงเล็กนั้นจะเล่นในบริเวณที่แคบๆ เช่น บนโต๊ะ หรือสนามซึ่งเส้นผ่านศูนย์กลาง

ประมาณ 2 – 3 เมตร


2. ตะกร้อวงใหญ่ 

    ลักษณะและรูปแบบการเล่นเหมือนกับการเล่นตะกร้อวงเล็ก ต่างกันตรงที่สถานที่เล่นและจำนวนผู้เล่น กล่าวคือ ตะกร้อ

วงใหญ่จะเล่นในสนามเรียบมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 8 – 14 เมตร ซึ่งอยู่กับผู้เล่นว่าจะมีจำนวนเท่าใด โดยปกติ

แล้วจะมีผู้เล่นตั้งแต่ 5 – 8 คน ท่าทางการเล่นนั้นก็มีลักษณะเช่นเดียวกับการเล่นตะกร้อวงเล็ก แต่ตะกร้อวงใหญ่ต้องออก

แรงเตะลูกหรือส่งลูกมากกว่า มิฉะนั้นตะกร้อจะไม่ถึงผู้รับ ผู้เล่นต้องระมัดระวังจังหวะการเล่น ท่าทางต่างๆ ตลอดจนน้ำหนัก

หรือแรงเหวี่ยงให้เหมาะสม


3. ตะกร้อเตะทน

    ตะกร้อเตะทนหรือตะกร้อวงเตะทน มักนิยมเล่นแข่งขันกันเป็นทีม จึงควรศึกษาไว้เพื่อนำไปเล่นกันต่อไป


4. ตะกร้อพลิกแพลง

    ตะกร้อพลิกแพลง หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “การติดตะกร้อ” การเล่นตะกร้อแบบนี้ผู้เล่นต้องมีความชำนาญเป็นอย่างดี

เพราะลูกที่ผู้เตะจะเตะแต่ละท่า ดัดแปลงมาจากท่าธรรมดา การเล่นตะกร้อพลิกแพลงนี้ส่วนมากไม่ทำการแข่งขัน เป็นเพียง

เล่นกันเพื่ออวดลวดลายในการเตะเพื่อดูกันแปลกๆ และเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลินกันเท่านั้น วิธีเล่นก็ตั้งวงเหมือน

ตะกร้อวง แต่ไม่ต้องขีดเส้นเหมือนตะกร้อวง ผู้เล่นจะมีตั้งแต่ 2 – 8 คน แต่ละคนก็จะเตะหรือใช้กระบวนท่าส่งลูกไปยังคู่

ซึ่งคู่โต้ก็จะแสดงท่าพลิกแพลงต่างๆ ในลักษณะที่เรียกกันว่า “ติดตะกร้อ” สักระยะเวลาหนึ่งแล้วก็จะส่งกลับไปยังผู้เล่นอื่น

บ้าง ซึ่งผู้เล่นร่วมวงคนอื่นก็จะแสดงท่าพลิกแพลงที่แตกต่างกันออกไปอีก เช่น รับลูกตะกร้อที่ส่งมาด้วยหลังเท้าแล้วเตะ

ลูกไม่ให้ตก จากนั้นก็เตะส่งลูกขึ้นไปติดค้างกับส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น ข้อพับ ขาหนีบ ซอกคอ ต้นคอ หน้าขา หรือ

สงบนิ่งอยู่บนหลังเท้าและเมื่อได้จังหวะอีกก็เตะลูกใหม่ไปติดค้างอยู่ตามร่างกายส่วนอื่นๆ ได้อีก ผู้เล่นที่ชำนาญจะติด

ตะกร้อได้ตั้งแต่หนึ่งลูก ไปจนถึง 17 ลูกก็มี

 

5. ตะกร้อชิงธง

     ตะกร้อชิงธงหรือตะกร้อเตะช่วงชัย เป็นการแข่งขันตะกร้ออีกวิธีหนึ่ง คล้ายการแข่งขันวิ่งวัวหรือวิ่งเร็ว โดยขีด

เส้นด้วยปูนขาวลงบนพื้น ทำเป็นช่องทางกว้างประมาณ ๓ เมตร ยาวประมาณ ๕๐ เมตร เมื่อผู้เข้าแข่งขันยืนประจำที่เส้นเริ่ม

ต้น จากนั้นเมื่อได้ยินสัญญาณให้เลี้ยงตะกร้อด้วยอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย ยกเว้นมือ โดยพยายามพาลูกตะกร้อไปยัง

ปลายทาง ซึ่งมีเส้นชัย มีธงปักไว้เป็นเครื่องหมาย ถ้าผู้เล่นคนใดสามารถเลี้ยงตะกร้อโดยไม่ออกนอกลู่ และไม่ตกพื้นจน

กระทั่งถึงเส้นชัยก่อนจะเป็นผู้ชนะการแข่งขัน

 
6. ตะกร้อลอดห่วง

     ตะกร้อลอดห่วง มักเรียกวันหลายชื่อ เช่น ตะกร้อลอดบ่วง ตะกร้อห่วงชัย หลวงมงคลแมน ( สังข์ บูรณะศิริ )

เป็นผู้ริเริ่มคิดขึ้นราวช่วง พ.ศ. 2470 – 2475 เริ่มมีการแข่งขึ้นครั้งแรกราว พ.ศ. 2476 ตะกร้อลอดห่วงมีผู้เล่น 7 คน

สำรอง 3 คน สนามสำหรับสำหรับแข่งเป็นพื้นราบอยู่ในร่มหรือกลางแจ้งก็ได้ ในขณะที่เล่นจะเปลี่ยนตัวผู้เล่นไม่ได้ จะ

เปลี่ยนได้ในคราวแข่งขันคราวต่อไป มีลวดสปริงขึงไว้ระหว่างเสาทั้งสองต้นซึ่งห่างกันประมาณ 20 เมตร ลวดสปริงที่ขึง

นั้นสูงจากพื้น 8 เมตร มีรอกสำหรับแขวนห่วง 1 ตัว อยู่กึ่งกลางลวดสปริงห่วงชัยประกอบด้วยวงกลม 3 ห่วง ขนาดเท่ากัน

จะทำด้วยโลหะ หวาย หรือไม้ก็ได้ ขอบล่างของห่วงต้องได้ระดับ สูงจากพื้นสนาม 5.75 เมตร เวลาลูกตะกร้อเข้าห่วง ให้

หย่อนลงมาเพื่อนะลูกตะกร้อจากถุงห่วงและโยนขึ้นเล่นใหม่ มีผู้ชักรอก 1 คน ใช้เวลาในการแข่งขันครั้งละ 50 นาที ไม่มี

พัก ผู้เล่นทั้ง 7 คน ยืนเป็นวงห่างกันพอสมควร การเตะลูกตะกร้อเข้าห่วงทำได้ทุกคนจะเตะลูกตะกร้อท่าใดก็ได้และมี

คะแนนให้ทุกท่าและทุกลูกที่เข้าห่วง โดยให้คะแนนตามความยากง่ายของแต่ละท่า คณะตะกร้อชุดใดได้คะแนนมากในเวลา

ที่กำหนดเป็นฝ่ายชนะ

        รายละเอียดเกี่ยวกับกติกาการแข่งขันตะกร้อลอดห่วง ศึกษาได้จากสมาคมกีฬาไทยพระบรมราชูปถัมภ์และสมาคม

ตะกร้อแห่งประเทศไทย หรือที่สำนักงานการกีฬาแห่งประเทศไทย ทุกแห่ง

 
7. ตะกร้อข้ามตาข่าย

    การเล่นตะกร้อข้ามตาข่ายแบบไทยนี้ เนื่องจากมีนักตะกร้อและนักแบดมินตันบางท่าน ซึ่งมี หลวงสำเร็จวรรณกิจ ขุนจรร

ยาวิฑิต นายผล ผลาสินธุ์  และนายยิ้ม ศรีหงส์ เป็นคณะผู้ริเริ่มขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2472 โดยพยายามประยุกต์

การเล่นตะกร้อกับแบดมินตันเข้าด้วยกันและเรียกกีฬาใหม่นี้ว่า “ตะกร้อข้ามตาข่าย” โดยมีการนับคะแนนแบบแบดมินตัน

จนถึง พ.ศ. 2475 สมาคมกีฬาสยามซึ่งเป็นชื่อสมาคมในสมัยนั้น บัดนี้เปลี่ยนชื่อเป็นสมาคมกีฬาไทย ได้ขอให้หลวงคุณ

วิชาสนอง ร่างกติกาตะกร้อข้ามตาข่ายขึ้น และ พ.ศ. 2476 จึงจัดให้มีการแข่งขันตะกร้อข้ามตาข่ายระหว่างประชาชนขึ้น

เป็นครั้งแรกในงานฉลองรัฐธรรมนูญ ประจำปี พ.ศ. 2476 ปรากฏว่าต่อมามีผู้นิยมเล่นกันมากและแพร่หลายกันมากขึ้นตาม

ลำดับ จนถึง พ.ศ. 2479 กรมพลศึกษาจึงจัดให้มีการแข่งขันตะกร้อข้ามตาข่ายระหว่างนักเรียนขึ้นเป็นครั้งแรก 

 
8. เซปักตะกร้อ

    เซปักตะกร้อหรือตะกร้อข้ามตาข่ายแบบสากล เป็นกีฬาที่ได้พัฒนามาจนเป็นที่แพร่หลายไปเกือบทั่วโลก 

ประเทศมาเลเซียเป็นผู้คิดค้นกติกาการเล่น ซึ่งลักษณะการเล่นเซปักตะกร้อคล้ายกับการเล่นตะกร้อข้ามตาข่ายของไทย

แต่ต่างกันตรงรูปแบบ สนาม การเล่นลูก การนับคะแนน และกติกาการแล่น

     ในปี พ.ศ. 2508 ในช่วงฤดูการแข่งขันกีฬาไทย ซึ่งมีการแข่งขันว่าว กระบี่กระบอง และตะกร้อ โดยสมาคมกีฬาไทย

ณ ท้องสนามหลวง ราวเดือนมีนาคมและเมษายน ในปีนี้สนามคมตะกร้อจากปีนัง ประเทศมาเลเซีย ได้เชื่อมความสัมพันธ์

เพื่อแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน ได้มีการแข่งขันตะกร้อของทั้งสองประเทศ นักกีฬาทีมชาติไทยมีความถนัด

ในการเล่นตะกร้อแบบกติกาไทย ส่วนนักกีฬาทีมชาติมาเลเซีย มีความถนัดในการเล่นตะกร้อแบบกติกามาเลเซีย คณะ

กรรมการจัดการแข่งขัน จึงได้กำหนดกติกาในการแข่งขันทั้งสองแบบ ผลการแข่งขันตะกร้อแบบกติกาไทย ปรากฏว่านัก

กีฬาทีมชาติไทยชนะนักกีฬาทีมชาติมาเลเซียสองเซตรวด ส่วนการแข่งขันแบบกติกามาเลเซีย ปรากฏว่านักกีฬาทีมชาติ

ไทยแพ้นักกีฬาทีมชาติมาเลเซียสิงเซตรวดเช่นเดียวกัน

      ภายหลังการแข่งขันตะกร้อครั้งนั้น คณะผู้ประสานงานกีฬาตะกร้อของทั้งสองประเทศ ได้มีการประชุมเพื่อปรึกษาหา

รือในการเผยแพร่กีฬาชนิดนี้ให้กว้างขวางเป็นที่นิยมต่อนาอารยประเทศ จึงได้ตกลงร่วมกันกำหนดชื่อกีฬานี้ขึ้นใหม่ ซึ่งทั้ง

สองประเทศนี้ใช้ชื่อไม่เหมือนกัน ประเทศไทยใช้ชื่อว่า “กีฬาตะกร้อ” ส่วนมาเลเซียใช้ชื่อว่า “ซีปัก รากา” ซึ่งคำว่า รากา

นั้น แปลว่าตะกร้อนั้นเอง คณะกรรมการประสานงานหรือสมาคมกีฬาของทั้งสองประเทศ จึงได้นำคำว่า SEPAK ของ

มาเลเซีย มารวมกับคำว่า ตะกร้อ ของประเทศไทย รวมเป็นคำว่า SEPAK – TAKRAW หรือ เซปักตะกร้อมาตราบเท่าทุก

วันนี้ และกีฬาเซปักตะกร้อได้บรรจุเข้าในการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย และบรรจุเข้า

แข่งขันในกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๓ ที่กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน

 

                               

 


    

สร้างโดย: 
คุณครูกัลยารัตน์ เมธีวีรวงศ์ และ นางสาวธันวา พูลเสรี โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 566 คน กำลังออนไลน์