• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2b0697f67578467ce43a0f2c9fa7f6e4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42185\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u19649/poolsaeree.gif\" height=\"200\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"80\" src=\"/files/u19649/47_20259_3232e5457d4cdac.gif\" height=\"65\" /> <img border=\"0\" width=\"131\" src=\"/files/u19649/toto.jpg\" height=\"28\" /> <img border=\"0\" width=\"80\" src=\"/files/u19649/47_20259_3232e5457d4cdac.gif\" height=\"65\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #663300\"><strong><img border=\"0\" width=\"270\" src=\"/files/u19649/_B8_B0_E0_B8_81_E0_B8_A3_E0_B9_89_E0_B8_AD44.jpg\" height=\"190\" /><br />\n</strong><a href=\"http://sporthero.sat.or.th/sportinfo/25220091635586%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD.jpg\"><sub>http://sporthero.sat.or.th/sportinfo/25220091635586%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%<br />\n81%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD.jpg</sub></a> </span></p>\n<p>\n</p>\n<p>\n           <span style=\"color: #663300\">    </span><strong><span style=\"color: #663300\">คำว่า “ตะกร้อ” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานปี พ.ศ. 2525 ให้คำนิยาม “ตะกร้อ” ไว้ว่า “ของเล่น</span></strong></p>\n<p>ชนิดหนึ่ง ลูกกลม สานด้วยหวายเป็นตาๆ สำหรับเตะ” ปัจจุบันตะกร้อใช้วัสดุประเภทใยสังเคราะห์ หรือพลาสติกและไม่ได้</p>\n<p>สานด้วยมือ แต่ใช้เครื่องจักรและกรรมวิธีอื่นๆ เพราะหวายนั้นค่อนข้างหายากและขาดแรงงานฝีมือ “ตะกร้อ” ตะกร้อยังมี</p>\n<p>ความหมายมากกว่าของเตะเล่น โดยปรากฏในพจนานุกรมอีกว่า เป็น “เครื่องมือสอยผลไม้ มีด้ามยาว รูปรี ทำด้วยไม้เป็นซี่ </p>\n<p>เครื่องสานรูปทรงกระบอก สำหรับใส่ไว้ในประถางยาดองและกะปิ เพื่อกันเอาแต่น้ำ</p>\n<p>\n                 ตะกร้อเป็นกีฬาที่ไม่แน่ชัดว่าเกิดขึ้นในประเทศใด สมัยใด และใครเป็นผู้คิดค้นการเล่นขึ้น แต่ประเทศที่นิยม</p>\n<p>เล่นตะกร้อมาเป็นเวลานานนั้นมีหลายประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย พม่า มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และจีนจะเห็นว่าตะกร้อเตะเล่น</p>\n<p>นั้น คนไทยเล่นมานานแล้วควบคู่ไปกับการเล่นกระบี่กระบอง เนื่องจากประเทศไทยมีป่าที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยหวาย จึงได้ตัด</p>\n<p>หวายมาดัดแปลงเป็นอาวุธโบราณจำลอง เพื่อใช้ในการต่อสู้แทนอาวุธจริง แต่ไทยเราเริ่มสานตะกร้อเล่นเมื่อไหร่กันแน่นั้น </p>\n<p>ยังหาข้อยุติไม่ได้ เมื่อประมวลความรู้ทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีแล้ว น่าจะเชื่อได้ว่าคนไทยเริ่มเล่นตะกร้อกันจริงจัง</p>\n<p>ในสมัยอยุธยา ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ด้วยช่างนั้นเป็นระยะสงคราม ทหารต้องเดินทางยาวนาน เมื่อถึงทำเลที่</p>\n<p>เหมาะก็จะสร้างค่ายพักแรมขึ้น ก็ไม่การทำไร่ไถนา ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์เพื่อใช้เป็นเสบียง ในช่วงนี้เองทหารมีเวลาพักผ่อน </p>\n<p>บ้างก็ออกไปลาดตะเวนด้วยพาหนะม้า จึงได้มีการสานตะกร้อหุ้มปากม้าเพื่อป้องกันมิให้ม้าร้องส่งเสียงดังเพราะจะทำให้</p>\n<p>การลาดตระเวนไม่เป็นผล บ้างก็หาของป่าทั้งสัตว์และพืชมาเป็นอาหาร และได้พบว่ายอดหวายเป็นอาหารวิเศษของเหล่า</p>\n<p>ทหาร เมื่อตัดหวายและนำยอดมาประกอบอาหารส่วนลำต้นก็นำมาสานเตะเล่น เหตุเพราะคนไทยรักในกีฬาประเภทเตะต่อย</p>\n<p>เป็นทุนเดิมอยู่แล้วเมื่อเห็นว่าเตะแล้วให้ความสนุกสนานร่าเริง จึงได้ตัดหวายแล้วนำมาสานเตะเล่นกันอย่างแพร่หลายใน</p>\n<p>กองทัพ นอกจากนี้ยังมีการโยนรับด้วยมืออีกด้วย มีข้อความบันมึกไว้ว่าทางราชการได้สานตะกร้อขนาดใหญ่สำหรับใส่นัก</p>\n<p>โทษที่กระทำความผิดร้ายแรงให้ช้างเตะไปตามถนน เป็นไปได้ว่า คนไทยเรามีฝีมือในการสานตะกร้อชนิดต่างๆ มานานแล้ว </p>\n<p>โดยเฉพาะตะกร้อที่ใช้เตะ และน่าจะเป็นชาติแรกในโลกที่เล่นตะกร้อ อย่างไรก็ตาม คงจะมีทหารกองสอดแนมของพม่าได้</p>\n<p>พบเห็นเข้า จึงตัดหวายไปลองสานดูบ้าง แต่สานเป็นแบบหลวมโปร่ง มีน้ำหนักน้อย  เพราะอาจจะดูการสานของไทยไม่ถนัด</p>\n<p>พม่าจึงเรียกหวายที่สานเป็นตะกร้อขึ้นแบบหลวม ๆ ว่า “ชินลง” ( CHINLONG )</p>\n<p>\n            ทางตอนใต้ของประเทศไทย ประเทศมาเลเซียก็นิยมเล่นตะกร้อที่สานด้วยหวายเช่นกัน เนื่องจากมีต้นหวายขึ้น</p>\n<p>หนาแน่นในบริเวณนั้น เข้าใจว่าคงได้แบบอย่างไปจากพม่าและไทยปะปนกัน ในระยะหลังๆ ลูกตะกร้อที่มาเลเซียสานขึ้นมา</p>\n<p>นั้นจึงมีลักษณะสองชั้น ตะกร้อลูกเล็กอยู่ชั้นในโดยสานแน่นแบบไทย ส่วนชั้นนอกนั้นสานหลวม ๆ แบบพม่า ตะกร้อแบบ</p>\n<p>มาเลเซียจึงมีน้ำหนักมากและมีความยืดหยุ่นได้ดี ชาวมาเลเซียเรียกตะกร้อว่า “เซปัก – รากา”  (  SEPAK RAKA )</p>\n<p>\n           นอกจากนี้ประเทศฟิลิปปินส์ที่เล่นตะกร้อ แต่เรียกตะกร้อว่า “ซิปัก” ( SIPAK ) เข้าใจว่าอาจเรียกตามแบบมาเลเซีย </p>\n<p>แต่ฟิลิปปินส์มาฝึกเล่นภายหลัง</p>\n<p>\n           เมื่อพิจารณาจากงานเขียนของ เฟรเดอริค อาร์เธอร์  นีลซึ่งได้เขียนหนังสือเรื่อง  NARRATIVE  OF   </p>\n<p>A RESIDENCE INSIAM ตีพิมพ์เมื่อ ค.ศ. 1852 ได้กล่าวถึงตะกร้อชนิดหนึ่ง เป็นลูกหนังแล้วปีกด้วยขนไก่ พร้อมทั้งมี</p>\n<p>ภาพเขียนคนไว้ผมจุกล้อมลงเตะตะกร้อชนิดนี้อยู่ การเตะตะกร้อยังมีการกล่าวถึงในหนังสือพงศาวดารจีนเรื่อง “ซุยถัง” </p>\n<p>อีกด้วย จึงเป็นข้อมูลที่น่าพิจารณาว่าใครได้แบบอย่างไปจากใคร อนึ่งในภาพคนล้อมวงเตะตะกร้อที่เล่นอยู่ในประเทศจีน </p>\n<p>และมีการกล่าวไว้ในซุยถังนั้น น่าจะเป็นชนเผ่าไตหลายเผ่าพันธุ์ซึ่งมีชื่อเรียกแตกต่างกัน มีภูมิลำเนาอาศัยอยู่ในแผ่นดินจีน</p>\n<p>ถ้าเป็นเช่นนั้นก็สรุปได้ว่าชาวไตหรือชาวไทเล่นตะกร้อก่อนชนชาติอื่น</p>\n<p>\n           จีนเป็นอีกประเทศหนึ่งที่นิยมเล่นตะกร้อ โดยเรียกตะกร้อว่า “เตกโก” ( T’EK K’AU ) ซึ่งออกเสียงคล้ายคำว่า </p>\n<p>“ตะกร้อ” ของไทย หรือเป็นไปได้ว่าชนเผ่าไตที่อยู่ภายใต้การครอบครองได้เล่นตะกร้อและเรียกว่าเตกโก และคำนี้เองเป็น</p>\n<p>ต้นเค้าของคะว่าตะกร้อหรือกะต้อ ( คำที่ชาวอีสานเรียก ) ซึ่งใช้มาจนถึงปัจจุบัน</p>\n<p>\n           อย่างไรก็ตาม การเล่นตะกร้อมีลักษณะที่เหมือนกันคือ ใช้เท้าเตะหรือใช้อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย ส่วน</p>\n<p>ชื่อที่ใช้เรียกตะกร้อก็เรียกกันไปตามภาษาของแต่ละประเทศ เช่น พม่าเรียกว่า “ชินลง” ( CHINLON )  มาเลเซียเรียกว่า </p>\n<p>“เซปัก รากา”  ( SAPAK RAKA ) ฟิลิปปินส์เรียกว่า “ซิปัก” ( SIPAK )  จีนเรียกว่า “เตกโก” ( T’EK K’AU ) ไทยเรียก</p>\n<p>ว่า     “ตะกร้อ” ( TAKRAW )</p>\n<p>\n            ปัจจุบันกีฬาตะกร้อได้รับการส่งเสริมให้มีการเล่นกันอย่างแร่หลายมากขึ้น เพราะนอกจากหน่วยงานต่างๆ และ</p>\n<p>สมาคมกีฬาไทยจะจัดให้มีการแข่งขันกีฬาตะกร้อเป็นประจำแล้ว กระทรวงศึกษาธิการ ยังกำหนดเนื้อหาวิชาตะกร้อไว้ใน</p>\n<p>หลักสูตร   ให้นักเรียนได้เรียนเป็นวิชาพลศึกษาในโรงเรียนอีกด้วย\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #663300\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #663300\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #663300\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #663300\">  </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #663300\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #663300\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #663300\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #663300\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #663300\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #663300\"><img border=\"0\" width=\"60\" src=\"/files/u19649/47_20259_b043d06703fd2a1.gif\" height=\"60\" /> <a href=\"/node/49132\" title=\"หน้า “หน้าตะกร้อ” น่ะ\"><img border=\"0\" width=\"195\" src=\"/files/u19649/jumper.jpg\" height=\"33\" /></a></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #663300\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #663300\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/43152\" title=\"คลิกเลยฮ่ะ\"><img border=\"0\" width=\"197\" src=\"/files/u19649/cup.jpg\" height=\"35\" /></a><br />\n<img border=\"0\" width=\"70\" src=\"/files/u19649/47_20259_978fda042fbba9a.gif\" height=\"70\" /> <a href=\"/node/43150\" title=\"คลิกโลดเด้อค่า\"><img border=\"0\" width=\"323\" src=\"/files/u19649/contents.jpg\" height=\"50\" /></a> <img border=\"0\" width=\"70\" src=\"/files/u19649/47_20259_978fda042fbba9a.gif\" height=\"70\" />\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"459\" src=\"/files/u19649/13.gif\" height=\"102\" /><strong><br />\n</strong>\n</p></div>\n<p></p>\n', created = 1719943126, expire = 1720029526, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2b0697f67578467ce43a0f2c9fa7f6e4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติกีฬาตะกร้อ

 

  


http://sporthero.sat.or.th/sportinfo/25220091635586%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%
81%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD.jpg

               คำว่า “ตะกร้อ” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานปี พ.ศ. 2525 ให้คำนิยาม “ตะกร้อ” ไว้ว่า “ของเล่น

ชนิดหนึ่ง ลูกกลม สานด้วยหวายเป็นตาๆ สำหรับเตะ” ปัจจุบันตะกร้อใช้วัสดุประเภทใยสังเคราะห์ หรือพลาสติกและไม่ได้

สานด้วยมือ แต่ใช้เครื่องจักรและกรรมวิธีอื่นๆ เพราะหวายนั้นค่อนข้างหายากและขาดแรงงานฝีมือ “ตะกร้อ” ตะกร้อยังมี

ความหมายมากกว่าของเตะเล่น โดยปรากฏในพจนานุกรมอีกว่า เป็น “เครื่องมือสอยผลไม้ มีด้ามยาว รูปรี ทำด้วยไม้เป็นซี่

เครื่องสานรูปทรงกระบอก สำหรับใส่ไว้ในประถางยาดองและกะปิ เพื่อกันเอาแต่น้ำ

                 ตะกร้อเป็นกีฬาที่ไม่แน่ชัดว่าเกิดขึ้นในประเทศใด สมัยใด และใครเป็นผู้คิดค้นการเล่นขึ้น แต่ประเทศที่นิยม

เล่นตะกร้อมาเป็นเวลานานนั้นมีหลายประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย พม่า มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และจีนจะเห็นว่าตะกร้อเตะเล่น

นั้น คนไทยเล่นมานานแล้วควบคู่ไปกับการเล่นกระบี่กระบอง เนื่องจากประเทศไทยมีป่าที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยหวาย จึงได้ตัด

หวายมาดัดแปลงเป็นอาวุธโบราณจำลอง เพื่อใช้ในการต่อสู้แทนอาวุธจริง แต่ไทยเราเริ่มสานตะกร้อเล่นเมื่อไหร่กันแน่นั้น

ยังหาข้อยุติไม่ได้ เมื่อประมวลความรู้ทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีแล้ว น่าจะเชื่อได้ว่าคนไทยเริ่มเล่นตะกร้อกันจริงจัง

ในสมัยอยุธยา ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ด้วยช่างนั้นเป็นระยะสงคราม ทหารต้องเดินทางยาวนาน เมื่อถึงทำเลที่

เหมาะก็จะสร้างค่ายพักแรมขึ้น ก็ไม่การทำไร่ไถนา ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์เพื่อใช้เป็นเสบียง ในช่วงนี้เองทหารมีเวลาพักผ่อน

บ้างก็ออกไปลาดตะเวนด้วยพาหนะม้า จึงได้มีการสานตะกร้อหุ้มปากม้าเพื่อป้องกันมิให้ม้าร้องส่งเสียงดังเพราะจะทำให้

การลาดตระเวนไม่เป็นผล บ้างก็หาของป่าทั้งสัตว์และพืชมาเป็นอาหาร และได้พบว่ายอดหวายเป็นอาหารวิเศษของเหล่า

ทหาร เมื่อตัดหวายและนำยอดมาประกอบอาหารส่วนลำต้นก็นำมาสานเตะเล่น เหตุเพราะคนไทยรักในกีฬาประเภทเตะต่อย

เป็นทุนเดิมอยู่แล้วเมื่อเห็นว่าเตะแล้วให้ความสนุกสนานร่าเริง จึงได้ตัดหวายแล้วนำมาสานเตะเล่นกันอย่างแพร่หลายใน

กองทัพ นอกจากนี้ยังมีการโยนรับด้วยมืออีกด้วย มีข้อความบันมึกไว้ว่าทางราชการได้สานตะกร้อขนาดใหญ่สำหรับใส่นัก

โทษที่กระทำความผิดร้ายแรงให้ช้างเตะไปตามถนน เป็นไปได้ว่า คนไทยเรามีฝีมือในการสานตะกร้อชนิดต่างๆ มานานแล้ว

โดยเฉพาะตะกร้อที่ใช้เตะ และน่าจะเป็นชาติแรกในโลกที่เล่นตะกร้อ อย่างไรก็ตาม คงจะมีทหารกองสอดแนมของพม่าได้

พบเห็นเข้า จึงตัดหวายไปลองสานดูบ้าง แต่สานเป็นแบบหลวมโปร่ง มีน้ำหนักน้อย  เพราะอาจจะดูการสานของไทยไม่ถนัด

พม่าจึงเรียกหวายที่สานเป็นตะกร้อขึ้นแบบหลวม ๆ ว่า “ชินลง” ( CHINLONG )

            ทางตอนใต้ของประเทศไทย ประเทศมาเลเซียก็นิยมเล่นตะกร้อที่สานด้วยหวายเช่นกัน เนื่องจากมีต้นหวายขึ้น

หนาแน่นในบริเวณนั้น เข้าใจว่าคงได้แบบอย่างไปจากพม่าและไทยปะปนกัน ในระยะหลังๆ ลูกตะกร้อที่มาเลเซียสานขึ้นมา

นั้นจึงมีลักษณะสองชั้น ตะกร้อลูกเล็กอยู่ชั้นในโดยสานแน่นแบบไทย ส่วนชั้นนอกนั้นสานหลวม ๆ แบบพม่า ตะกร้อแบบ

มาเลเซียจึงมีน้ำหนักมากและมีความยืดหยุ่นได้ดี ชาวมาเลเซียเรียกตะกร้อว่า “เซปัก – รากา”  (  SEPAK RAKA )

           นอกจากนี้ประเทศฟิลิปปินส์ที่เล่นตะกร้อ แต่เรียกตะกร้อว่า “ซิปัก” ( SIPAK ) เข้าใจว่าอาจเรียกตามแบบมาเลเซีย

แต่ฟิลิปปินส์มาฝึกเล่นภายหลัง

           เมื่อพิจารณาจากงานเขียนของ เฟรเดอริค อาร์เธอร์  นีลซึ่งได้เขียนหนังสือเรื่อง  NARRATIVE  OF  

A RESIDENCE INSIAM ตีพิมพ์เมื่อ ค.ศ. 1852 ได้กล่าวถึงตะกร้อชนิดหนึ่ง เป็นลูกหนังแล้วปีกด้วยขนไก่ พร้อมทั้งมี

ภาพเขียนคนไว้ผมจุกล้อมลงเตะตะกร้อชนิดนี้อยู่ การเตะตะกร้อยังมีการกล่าวถึงในหนังสือพงศาวดารจีนเรื่อง “ซุยถัง”

อีกด้วย จึงเป็นข้อมูลที่น่าพิจารณาว่าใครได้แบบอย่างไปจากใคร อนึ่งในภาพคนล้อมวงเตะตะกร้อที่เล่นอยู่ในประเทศจีน

และมีการกล่าวไว้ในซุยถังนั้น น่าจะเป็นชนเผ่าไตหลายเผ่าพันธุ์ซึ่งมีชื่อเรียกแตกต่างกัน มีภูมิลำเนาอาศัยอยู่ในแผ่นดินจีน

ถ้าเป็นเช่นนั้นก็สรุปได้ว่าชาวไตหรือชาวไทเล่นตะกร้อก่อนชนชาติอื่น

           จีนเป็นอีกประเทศหนึ่งที่นิยมเล่นตะกร้อ โดยเรียกตะกร้อว่า “เตกโก” ( T’EK K’AU ) ซึ่งออกเสียงคล้ายคำว่า

“ตะกร้อ” ของไทย หรือเป็นไปได้ว่าชนเผ่าไตที่อยู่ภายใต้การครอบครองได้เล่นตะกร้อและเรียกว่าเตกโก และคำนี้เองเป็น

ต้นเค้าของคะว่าตะกร้อหรือกะต้อ ( คำที่ชาวอีสานเรียก ) ซึ่งใช้มาจนถึงปัจจุบัน

           อย่างไรก็ตาม การเล่นตะกร้อมีลักษณะที่เหมือนกันคือ ใช้เท้าเตะหรือใช้อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย ส่วน

ชื่อที่ใช้เรียกตะกร้อก็เรียกกันไปตามภาษาของแต่ละประเทศ เช่น พม่าเรียกว่า “ชินลง” ( CHINLON )  มาเลเซียเรียกว่า

“เซปัก รากา”  ( SAPAK RAKA ) ฟิลิปปินส์เรียกว่า “ซิปัก” ( SIPAK )  จีนเรียกว่า “เตกโก” ( T’EK K’AU ) ไทยเรียก

ว่า     “ตะกร้อ” ( TAKRAW )

            ปัจจุบันกีฬาตะกร้อได้รับการส่งเสริมให้มีการเล่นกันอย่างแร่หลายมากขึ้น เพราะนอกจากหน่วยงานต่างๆ และ

สมาคมกีฬาไทยจะจัดให้มีการแข่งขันกีฬาตะกร้อเป็นประจำแล้ว กระทรวงศึกษาธิการ ยังกำหนดเนื้อหาวิชาตะกร้อไว้ใน

หลักสูตร   ให้นักเรียนได้เรียนเป็นวิชาพลศึกษาในโรงเรียนอีกด้วย

 

 

 


  


สร้างโดย: 
คุณครูกัลยารัตน์ เมธีวีรวงศ์ และ นางสาวธันวา พูลเสรี โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 566 คน กำลังออนไลน์