• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ชุดที่5', 'node/51762', '', '3.129.15.99', 0, '9d819b7c7c74b4a350b38860f9329ec2', 142, 1715947261) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:69876de2762cca01529772e85d6aee65' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"><a href=\"/node/49101\"><img height=\"110\" width=\"110\" src=\"/files/u19246/ist1_9773508-arrow-BACK.jpg\" border=\"0\" /></a> </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">1.     นโยบายเศรษฐกิจของคณะราษฎร - สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2</span></strong>\n</p>\n<p>\n        นโยบายเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม โดยเสนอเค้าโครงเศรษฐกิจแห่งชาติ (สมุดปกเหลือง) ซึ่งมีลักษณะแก้ปัญหาคล้ายระบบสหกรณ์ แต่ไม่ได้ประกาศใช้เพราะรัฐบาลขณะนั้นไม่เห็นชอบและรัชกาลที่ 7 ก็ทรงมีพระราชดำริไม่เห็นชอบ (สมุดปกขาว) โดยเกรงว่าลักษณะค่อนไปทางสังคมนิยม รัฐบาลไทยตึงดำเนินนโยบายเศรษฐกิจเป็นแบบเสรีนิยมมาโดยตลอด ทำให้เศรษฐกิจส่วนใหญ่ตกอยู่ในมือของชาวจีนและชาวตะวันตก สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลดำเนินนโยบายชาตินิยมทางเศรษฐกิจเพื่อให้คนไทยมีงานทำและขจัดอิทธิพลทางเศรษฐกิจของคนต่างชาติ ลดบทบาทการผูกขาดทางเศรษฐกิจของชาติตะวันตกและชาวจีน เรียกร้องให้คนไทยนิยมใช้สินค้าที่ผลิตภายในประเทศเอง รวมไปถึงการจัดตั้งรัฐวิสาหกิจ ได้แก่บริษัทกึ่งราชการ ทำให้ไม่สามารถขจัดอิทธิพลของพ่อค้าจีน เพราะต้องพึ่งการจัดการของชาวจีน\n</p>\n<p>\n        ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐบาลไทยดำเนินนโยบายที่มีสัมพันธภาพกับฝ่ายโลกเสรี สภาวะเศรษฐกิจไทยเติบโตขึ้นเพราะผลจากสงครามเกาหลี จอมพล ป. พิบูลสงคราม กลับเข้ามามีอำนาจทางการเมืองอีกครั้ง และยังคงดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจแบบชาตินิยม โดยเข้ามามีบทบาทด้านดารลงทุนในรูปรัฐวิสาหกิจที่เรียกว่าทุนนิยมโดยรัฐและส่งเสริมธุรกิจภาคเอกชน ซึ่งเศรษฐกิจแบบชาตินิยมนี้ก่อให้เกิดการแสวงหาผลประโยชน์ร่วมกันระหว่าวงพอค้ากับราชการทำให้อำนาจทางเศรษฐกิจไทยตกอยู่ในมือของกลุ่มนายทุนเก่าและใหม่ แต่สำหรับการแก้ปัญหาขั้นพื้นฐานของสังคมไทยนั้นรัฐบาบเข้าไปแก้ปัญหาน้อยมาก เช่น เรื่องกรรมสิทธิ์ที่ดิน หรือการผลิตแบบล้าหลัง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">2.</span><span style=\"color: #ff0000\">     นโยบายเศรษฐกิจภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ</span></strong>\n</p>\n<p>\n        รัฐบาลภายใต้การนำของจอมพลสฤษดิ์ ธนรัชต์ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นครั้งแรก โดยรัฐบาลไทยได้รับการช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกาเพื่อปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยและก้าวหน้าและดำเนินการต่อเนื่องเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมนี้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยอย่างมาก คือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2504-2509) เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจล้วนๆ เพียงฉบับเดียว เน้นการขยายบริการพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศการลงทุนด้านอุตสาหกรรม ส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศโดยการสร้างถนน ไฟฟ้า ฯลฯ ขยายการศึกษารดับอุดมศึกษาไปสู่ระดับภูมิภาค เช่น เชียงใหม่ สงขลา ขอนแก่น เน้นการเพิ่มรายได้ประชาชาติและก่อให้เกิดชนชั้นกลาง\n</p>\n<p>\n          แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2510-2514) รวมแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเข้าด้วยกัน ขยายการพัฒนาสู่ชนบทเพื่อขจัดการแทรกซึมของพรรคคอมมิวนิสต์ <br />\nแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2515-2519) กระจายรายได้ระหว่างเมืองและชนบท กำหนดนโยบายประชากร <br />\nแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520-2524) เร่งขยายการผลิตเพื่อส่งออก ลดช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างเมืองและชนบท มุ่งสร้างความเป็นธรรมในสังคม <br />\nแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525-2529) เน้นรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ขยายพื้นที่ พัฒนาบริเวณฝั่งทะเลตะวันออก <br />\nแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2530-2534) ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ตลาดเพื่อให้สินค้าไทยแข่งกับต่างประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพด้าบวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <br />\nแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539) รักษาอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพและต่อเนื่อง กระจายรายได้และการพัฒนาสู่ชนบท <br />\nแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) มุ่งเน้นพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และบูรณะรักษาสิ่งแวดล้อม <br />\nแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) มุ่งเน้นการสร้างระบบบริหารจัดการที่ดีในสังคมไทย การเสริมสร้างฐานรากของสังคมให้แข็งแรง การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้มีความสมดุลและยั่งยืน <br />\n        หลังจากประเทศไทยประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมมาเป็นเวลา 40 ปี ปรากฏว่าความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศขยายตัวอยู่ในเกณฑ์และก้าวหน้า ส่งผลให้ผลผลิตทั้งภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นและมีกรรมวิธีในการผลิตที่อาศัยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การสาธารณูปโภคได้รับการปรับปรุงและกระจายไปสู่ชนบทมากขึ้น การลงทุนจากต่างปะเทศสูงขึ้น อัตราการกู้ยืมเงินตราต่างประเทศลดลงและอัตราการเพิ่มประชากรลดลง แต่ความเจริญเติบโตเหล่านี้มิได้กระจายไปสู่ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ยังมีปัญหาความยากจนและความไม่เป็นธรรมในการกระจายรายได้ความเจริญด้านต่างๆ กระจุกอยู่ตามเมืองใหญ่และในกรุงเทพฯ ช่องว่างระหว่าบุคคลมีมากขึ้นรวมไปถึงปัญหามลพิษ ที่เกิดจากการพัฒนาประเทศด้านอุตสาหกรรม กลุ่มนายทุนและนักการเมืองร่วมมือประสานประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสร้างเสริมอำนาจทางการเมืองในปัจจุบัน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715947271, expire = 1716033671, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:69876de2762cca01529772e85d6aee65' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สมัยรัตนโกสินทร์ตอนปลาย

 

1.     นโยบายเศรษฐกิจของคณะราษฎร - สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2

        นโยบายเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม โดยเสนอเค้าโครงเศรษฐกิจแห่งชาติ (สมุดปกเหลือง) ซึ่งมีลักษณะแก้ปัญหาคล้ายระบบสหกรณ์ แต่ไม่ได้ประกาศใช้เพราะรัฐบาลขณะนั้นไม่เห็นชอบและรัชกาลที่ 7 ก็ทรงมีพระราชดำริไม่เห็นชอบ (สมุดปกขาว) โดยเกรงว่าลักษณะค่อนไปทางสังคมนิยม รัฐบาลไทยตึงดำเนินนโยบายเศรษฐกิจเป็นแบบเสรีนิยมมาโดยตลอด ทำให้เศรษฐกิจส่วนใหญ่ตกอยู่ในมือของชาวจีนและชาวตะวันตก สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลดำเนินนโยบายชาตินิยมทางเศรษฐกิจเพื่อให้คนไทยมีงานทำและขจัดอิทธิพลทางเศรษฐกิจของคนต่างชาติ ลดบทบาทการผูกขาดทางเศรษฐกิจของชาติตะวันตกและชาวจีน เรียกร้องให้คนไทยนิยมใช้สินค้าที่ผลิตภายในประเทศเอง รวมไปถึงการจัดตั้งรัฐวิสาหกิจ ได้แก่บริษัทกึ่งราชการ ทำให้ไม่สามารถขจัดอิทธิพลของพ่อค้าจีน เพราะต้องพึ่งการจัดการของชาวจีน

        ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐบาลไทยดำเนินนโยบายที่มีสัมพันธภาพกับฝ่ายโลกเสรี สภาวะเศรษฐกิจไทยเติบโตขึ้นเพราะผลจากสงครามเกาหลี จอมพล ป. พิบูลสงคราม กลับเข้ามามีอำนาจทางการเมืองอีกครั้ง และยังคงดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจแบบชาตินิยม โดยเข้ามามีบทบาทด้านดารลงทุนในรูปรัฐวิสาหกิจที่เรียกว่าทุนนิยมโดยรัฐและส่งเสริมธุรกิจภาคเอกชน ซึ่งเศรษฐกิจแบบชาตินิยมนี้ก่อให้เกิดการแสวงหาผลประโยชน์ร่วมกันระหว่าวงพอค้ากับราชการทำให้อำนาจทางเศรษฐกิจไทยตกอยู่ในมือของกลุ่มนายทุนเก่าและใหม่ แต่สำหรับการแก้ปัญหาขั้นพื้นฐานของสังคมไทยนั้นรัฐบาบเข้าไปแก้ปัญหาน้อยมาก เช่น เรื่องกรรมสิทธิ์ที่ดิน หรือการผลิตแบบล้าหลัง

 

2.     นโยบายเศรษฐกิจภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

        รัฐบาลภายใต้การนำของจอมพลสฤษดิ์ ธนรัชต์ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นครั้งแรก โดยรัฐบาลไทยได้รับการช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกาเพื่อปรับปรุงประเทศให้ทันสมัยและก้าวหน้าและดำเนินการต่อเนื่องเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมนี้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยอย่างมาก คือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2504-2509) เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจล้วนๆ เพียงฉบับเดียว เน้นการขยายบริการพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศการลงทุนด้านอุตสาหกรรม ส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศโดยการสร้างถนน ไฟฟ้า ฯลฯ ขยายการศึกษารดับอุดมศึกษาไปสู่ระดับภูมิภาค เช่น เชียงใหม่ สงขลา ขอนแก่น เน้นการเพิ่มรายได้ประชาชาติและก่อให้เกิดชนชั้นกลาง

          แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2510-2514) รวมแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเข้าด้วยกัน ขยายการพัฒนาสู่ชนบทเพื่อขจัดการแทรกซึมของพรรคคอมมิวนิสต์
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2515-2519) กระจายรายได้ระหว่างเมืองและชนบท กำหนดนโยบายประชากร
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520-2524) เร่งขยายการผลิตเพื่อส่งออก ลดช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างเมืองและชนบท มุ่งสร้างความเป็นธรรมในสังคม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525-2529) เน้นรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ขยายพื้นที่ พัฒนาบริเวณฝั่งทะเลตะวันออก
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2530-2534) ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ตลาดเพื่อให้สินค้าไทยแข่งกับต่างประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพด้าบวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539) รักษาอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพและต่อเนื่อง กระจายรายได้และการพัฒนาสู่ชนบท
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) มุ่งเน้นพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และบูรณะรักษาสิ่งแวดล้อม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) มุ่งเน้นการสร้างระบบบริหารจัดการที่ดีในสังคมไทย การเสริมสร้างฐานรากของสังคมให้แข็งแรง การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจให้มีความสมดุลและยั่งยืน
        หลังจากประเทศไทยประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมมาเป็นเวลา 40 ปี ปรากฏว่าความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศขยายตัวอยู่ในเกณฑ์และก้าวหน้า ส่งผลให้ผลผลิตทั้งภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นและมีกรรมวิธีในการผลิตที่อาศัยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การสาธารณูปโภคได้รับการปรับปรุงและกระจายไปสู่ชนบทมากขึ้น การลงทุนจากต่างปะเทศสูงขึ้น อัตราการกู้ยืมเงินตราต่างประเทศลดลงและอัตราการเพิ่มประชากรลดลง แต่ความเจริญเติบโตเหล่านี้มิได้กระจายไปสู่ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ยังมีปัญหาความยากจนและความไม่เป็นธรรมในการกระจายรายได้ความเจริญด้านต่างๆ กระจุกอยู่ตามเมืองใหญ่และในกรุงเทพฯ ช่องว่างระหว่าบุคคลมีมากขึ้นรวมไปถึงปัญหามลพิษ ที่เกิดจากการพัฒนาประเทศด้านอุตสาหกรรม กลุ่มนายทุนและนักการเมืองร่วมมือประสานประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสร้างเสริมอำนาจทางการเมืองในปัจจุบัน

 

 

สร้างโดย: 
ณีรชา ปนัดดาภรณ์ ม.6/4 เลขที่ 26 โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 287 คน กำลังออนไลน์