• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1c9938c5ec39b7cc7439d94fb1a1ffc6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/43095\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20308/green-house-edited-for-home_1_.jpg\" style=\"width: 84px; height: 83px\" align=\"left\" height=\"253\" width=\"233\" /></a>\n</p>\n<p align=\"right\">\n <strong> </strong>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>ประวัติความเป็นมา</strong>\n</p>\n<p>\n          เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีนั้นมีประวัติความ เป็นมาเก่าแก่ยาวนานมากดังหลักฐานทางโบราณคดีที่มีการค้นพบระนาดหินซึ่งน่าจะเป็นต้นแบบของ ระนาดไม้ ในยุคปัจจุบัน ระนาดหินนี้เป็นหลักฐานทางโบราณคดีชิ้นสำคัญที่ชี้ให้เห็นว่า เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีนั้นมีต้นกำเนิดมานานแล้ว ระนาดหินดังกล่าวมีอายุเก่าประมาณ3000 ปีมีลักษณะเป็น ขวานหินยาว พบที่แหล่งโบราณคดีริมฝั่งคลองกลาย หมู่ที่ 7 ตำบลสระแก้ว อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ประเทศไทย<br />\n <br />\n          ขวานหินยาวนั้นเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งของมนุษย์ในยุคดึกดำบรรพ์ คือ นำหินมากระเทาะให้เป็นแผ่นยาวหรือเป็นแท่งยาว ปลายด้านหนึ่งแต่งให้เป็นสันหนา ส่วนปลายอีกด้านจะแต่งให้บางลงจนเกิดความคมซึ่งเป็นลักษณะของ ขวานหินทั่วไปแต่มีลักษณะยาวกว่าจึงเรียกว่าขวานหิน ขวานหินยาวบางชิ้นทำจาก หินภูเขาไฟซึ่งมีส่วนผสมของแร่โลหะเวลาเคาะจะเกิดเสียงดังกังวาน และมีระดับเสียง สูงต่ำแตกต่างกันตามขนาดความยาวหรือความหนาบางของขวานหิน ด้วยเหตุนี้นัก โบราณคดีจึงเรียกขวานหินยาวว่าระนาดหิน นอกจากนั้นยังได้พบระนาดหินที่ประเทศ เวียตนามจำนวน 11 ชิ้น เมื่อผู้เชี่ยวเชี่ยวชาญดนตรีพื้นเมืองของประเทศอินโดนีเซียได้ วิเคราะห์ความถี่ของเสียงระนาดหินจำนวน 10 ชิ้น ปรากฏว่ามีระนาดหินจำนวน 5 ชิ้น มีความถี่ของเสียงเท่ากับความถี่ของเสียงดนตรี 5 เสียงซึ่งเป็นระดับเสียงของเครื่องดน ตรีโบราณที่ใช้กันอยู่ในประเทศอินโดนีเซียปัจจุบัน จึงพอจะสันนิษฐานได้ว่ากำเนิดของ ระนาดหินอาจเกิดจากการที่มนุษย์นำขวานหินธรรมดาซึ่งเป็นเครื่องมือใช้งานหรือเป็น อาวุธมาใช้และได้ยินเสียงที่เกิดจากการกระทบกันของเครื่องมือดังกล่าวเป็นเสียงดนตรี ที่ไพเราะน่าฟังจึงเป็นแรงจูงใจให้เกิดจินตนาการในการคิดประดิษฐ์เครื่องดนตรีขึ้น <br />\n         \n</p>\n<p>\n          สำหรับระนาดไม้นั้นน่าจะมีพัฒนาการมาจาก กรับ หรือ โกร่ง ซึ่งตามปกติใช้ ตีเพียง 2 ชิ้น แต่ได้มีการนำเอากรับซึ่งเป็นท่อนไม้สั้นๆจำนวนหลายชิ้นมาวางเรียงกัน แล้วใช้ไม้ตีลงไป ทำให้เกิดทำนองสูงต่ำแตกต่างกันตามขนาดความ สั้น-ยาว และ ความ หนา-บาง ของวัตถุดังเช่นเครื่องดนตรีของชาวอินโดนีเซียหรือชาวพื้นเมืองในประเทศ แอฟริกา\n</p>\n<p>\n          การนำเอาไม้กรับหลายๆอันมาวางเรียงตีนั้นน่าจะเป็นต้นกำเนิดของเครื่องดนตรีประเภท โปงลาง และ ระนาดเอก ในปัจจุบันโดยจะเห็นได้จากเครื่องดนตรีของคนที่อยู่ในภูมิภาคแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เช่น พม่า ลาว กัมพูชา และร่องรอยการพัฒนาการของระนาดในภูมิภาคอื่นๆของโลกอีกหลายแห่งซึ่งก็มีเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีที่มีรูปร่างและลักษณะ คล้ายคลึงกัน เมื่อมีการนำไม้กรับขนาดต่างๆมาวางเรียงและใช้ไม้เคาะเพื่อให้เกิดเสียงที่ต่าง กันแล้วจึงมีการคิดไม้รองเป็นรางเพื่อวางไม้กรับเรียงต่อๆกันไป รวมทั้งมีการพัฒนา เพื่อให้คุณภาพเสียงดีขึ้นคือแก้ไขปรับปรุงไม้กรับให้มีขนาดลดหลั่นกันโดยเรียงลำดับ ตามความสูงต่ำของเสียงและทำรางรองไม้กรับให้มีลักษณะเป็น กล่องเสียง เพื่อให้ดัง กังวานยิ่งขึ้นเรียกว่า รางระนาด แล้วใช้เชือกร้อยไม้กรับขนาดต่างๆให้ติดกันเป็นผืน เรียกว่า ผืนระนาด ขึงแขวนไว้เหนือรางระนาด ต่อมาจึงประดิษฐ์แก้ไขตัดแต่งไม้กรับ ให้มีรูปร่างประณีตสวยงามและเรียกไม้กรับเหล่านี้เสียใหม่ว่า ลูกระนาด ทั้งยังได้พัฒนา วิธีการปรับแต่งระดับเสียงของไม้กรับโดยใช้ขี้ผึ้งผสมตะกั่ว แล้วลนไฟติดไว้ตรงบริเวณด้านล่างตรงส่วนหัว และส่วนท้ายของลูกระนาดเพื่อให้เกิดเสียงที่ลึกนุ่มนวลขึ้นเป็นการ เทียบเสียงลูกระนาดเพื่อให้ได้ระดับเสียงตรงตามที่ต้องการด้วย\n</p>\n<p>\n          สรุปว่าลูกระนาดนั้นพัฒนาขึ้นมาจากไม้กรับประเภทต่างๆ ดังนั้นในหัวข้อนี้จึง ขอกล่าวถึงกรับประเภทต่างๆไว้ด้วยดังนี้ กรับ, โกร่ง ของไทยเป็น เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีกำกับจังหวะมี เสียงดังเช่นเดียวกับชื่อคือมีเสียง ดัง กรับ-กรับ เกิดจากการกระทบกันของวัตถุที่ใช้ทำเช่น ไม้ โลหะ หรือ งาช้าง กรับนั้น แบ่งตามลักษณะได้เป็น 3 ชนิดคือ กรับคู่ กรับพวง และ กรับเสภา<br />\n <br />\n         กรับคู่ - เป็นกรับชนิดหนึ่งทำด้วยไม้ไผ่ลำมะลอกหรือไม้ไผ่สีสุก เป็นต้น นำมาผ่า ซีกให้มีขนาดยาวประมาณ 45 ซม. กว้างประมาณ 5 ซม.หนาประมาณ 1.5 ซม.จำนวนสองท่อน ถือมือละท่อน ใช้ทางด้านผิวไม้ตีกระทบกัน มักใช้ตีกำกับทำนองร้องเวลาเล่นละครชาตรี จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า กรับละคร นอกจากใช้ตีกำกับจังหวะแล้วยังใช้ตีเป็นสัญญาณในการเปลี่ยนท่ารำ และตีให้จังหวะในพิธีการต่างๆด้วย<br />\n         กรับพวง - เป็นกรับชนิดหนึ่งทำด้วยไม้ผสมแผ่นโลหะบางๆ ยาวประมาณ 20 ซม. จำนวนหลายแผ่นร้อยเชือกเข้าด้วยกัน มีไม้หนา 2 ชิ้นซึ่งเรียก<br />\nว่า &quot;ไม้ประกับข้าง&quot; ประกับ ไว้ด้านนอกทั้งสองข้างไม้ประกับข้างนี้มักประดิษฐ์รูปร่างให้ เหมาะกับการใช้ตีลงบนฝ่ามือ วิธีตีใช้มือหนึ่งถือแล้วตีโดยใช้ อีกมือหนึ่งรองรับทำให้เกิดเสียงกระทบจากแผ่นไม้และแผ่น โลหะที่สอดอยู่ตรงกลางระหว่างไม้ประกับนั้น กรับพวงใช้ บรรเลงในวงมโหรีโบราณ การเล่นเพลงเรือ และ การแสดง โขนละคร \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20308/img021_1_.jpg\" height=\"170\" width=\"275\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nแหล่งที่มาภาพ  : <a href=\"http://st.mengrai.ac.th/users/thong/61/03/index4_files/img021.jpg\">http://st.mengrai.ac.th/users/thong/61/03/index4_files/img021.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<br />\n         กรับเสภา - เป็นกรับชนิดหนึ่งทำด้วยไม้เนื้อแข็งเช่น ไม้ชิงชัน ลักษณะเป็นแท่ง สี่เหลี่ยมมีผิวด้านหนึ่งโค้งมนยาวประมาณ 20 ซม. กว้างประมาณ 5 ซม. หนาประมาณ 5 ซม.ใช้ขยับมือละคู่ ปัจจุบันมีนักดนตรีนำกรับที่ทำเลียนแบบกรับเสภาแต่มีลักษณะเป็นแท่งสี่เหลี่ยม ไม่มีผิวโค้งมนมาใช้ตีเป็นจังหวะโดยตีเน้นที่จังหวะปิดหรือจังหวะเสียงตก เช่นในจังหวะ ฉิ่ง - ฉับ กรับจะตีเฉพาะที่ลงจังหวะ ฉับ เท่านั้น ในการขับเสภาผู้ขับเสภาจะใช้กรับ 2 คู่ ถือมือละคู่ ผู้ขับเสภาจะขยับกรับ 2 คู่นี้ตามลักษณะท่วงทำนองที่เรียกชื่อด้วยคำนำหน้าว่า &quot;ไม้&quot; เช่น ไม้กรอ ไม้หนึ่ง ไม้สอง ไม้รบ หรือ ไม้สี่ สำหรับ ไม้กรอ ใช้ขยับประกอบในลีลาทั่วๆไป ไม้หนึ่งและไม้สองใช้ ขยับประกอบขับเสภาบทไหว้ครูส่วน ไม้รบ หรือ ไม้สี่ ใช้ขยับประกอบขับเสภาในลีลา รุกเร้า\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20308/krabSePa_1_.jpg\" height=\"171\" width=\"275\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nแหล่งที่มาภาพ  : <a href=\"http://www4.msu.ac.th/satit/studentProj/2548/Selectted/M102/g02-Thaiclassicalmusic/IMGS/krabSePa.jpg\">http://www4.msu.ac.th/satit/studentProj/2548/Selectted/M102/g02-Thaiclassicalmusic/IMGS/krabSePa.jpg</a>  \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n          โกร่ง - เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีทำด้วยไม้ท่อนยาวที่มีลักษณะกลวงอยู่ ภายในเช่นลำไม้ไผ่แห้งหรือ ท่อนไม้ขุด มีความยาวแล้วแต่ต้องการ เจาะเป็นร่องยาวไป ตามปล้องหรือเว้นตรงข้อก็ได้ อาจเจาะเป็นร่องทั้ง 2 ข้างหรือข้างเดียวแต่สลับปล้องกันก็ได้เพื่อให้ตีเสียงดังก้องขึ้นเวลาตีวางลำท่อนไม้ราบไปตามพื้นมีท่อนไม้ \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<br />\n        <img border=\"0\" src=\"/files/u20308/img16_1_.jpg\" height=\"170\" width=\"275\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nแหล่งที่มาภาพ  : <a href=\"http://203.144.136.10/service/mod/heritage/nation/musical/img16.jpg\">http://203.144.136.10/service/mod/heritage/nation/musical/img16.jpg</a>\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มาข้อมูล  : <a href=\"/library/teachershow/sakaew/sornchai_p/ranad/sec01p04.html\">http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/sakaew/sornchai_p/ranad/sec01p04.html</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715412082, expire = 1715498482, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1c9938c5ec39b7cc7439d94fb1a1ffc6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติความเป็นมา

  

ประวัติความเป็นมา

          เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีนั้นมีประวัติความ เป็นมาเก่าแก่ยาวนานมากดังหลักฐานทางโบราณคดีที่มีการค้นพบระนาดหินซึ่งน่าจะเป็นต้นแบบของ ระนาดไม้ ในยุคปัจจุบัน ระนาดหินนี้เป็นหลักฐานทางโบราณคดีชิ้นสำคัญที่ชี้ให้เห็นว่า เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีนั้นมีต้นกำเนิดมานานแล้ว ระนาดหินดังกล่าวมีอายุเก่าประมาณ3000 ปีมีลักษณะเป็น ขวานหินยาว พบที่แหล่งโบราณคดีริมฝั่งคลองกลาย หมู่ที่ 7 ตำบลสระแก้ว อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ประเทศไทย
 
          ขวานหินยาวนั้นเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งของมนุษย์ในยุคดึกดำบรรพ์ คือ นำหินมากระเทาะให้เป็นแผ่นยาวหรือเป็นแท่งยาว ปลายด้านหนึ่งแต่งให้เป็นสันหนา ส่วนปลายอีกด้านจะแต่งให้บางลงจนเกิดความคมซึ่งเป็นลักษณะของ ขวานหินทั่วไปแต่มีลักษณะยาวกว่าจึงเรียกว่าขวานหิน ขวานหินยาวบางชิ้นทำจาก หินภูเขาไฟซึ่งมีส่วนผสมของแร่โลหะเวลาเคาะจะเกิดเสียงดังกังวาน และมีระดับเสียง สูงต่ำแตกต่างกันตามขนาดความยาวหรือความหนาบางของขวานหิน ด้วยเหตุนี้นัก โบราณคดีจึงเรียกขวานหินยาวว่าระนาดหิน นอกจากนั้นยังได้พบระนาดหินที่ประเทศ เวียตนามจำนวน 11 ชิ้น เมื่อผู้เชี่ยวเชี่ยวชาญดนตรีพื้นเมืองของประเทศอินโดนีเซียได้ วิเคราะห์ความถี่ของเสียงระนาดหินจำนวน 10 ชิ้น ปรากฏว่ามีระนาดหินจำนวน 5 ชิ้น มีความถี่ของเสียงเท่ากับความถี่ของเสียงดนตรี 5 เสียงซึ่งเป็นระดับเสียงของเครื่องดน ตรีโบราณที่ใช้กันอยู่ในประเทศอินโดนีเซียปัจจุบัน จึงพอจะสันนิษฐานได้ว่ากำเนิดของ ระนาดหินอาจเกิดจากการที่มนุษย์นำขวานหินธรรมดาซึ่งเป็นเครื่องมือใช้งานหรือเป็น อาวุธมาใช้และได้ยินเสียงที่เกิดจากการกระทบกันของเครื่องมือดังกล่าวเป็นเสียงดนตรี ที่ไพเราะน่าฟังจึงเป็นแรงจูงใจให้เกิดจินตนาการในการคิดประดิษฐ์เครื่องดนตรีขึ้น 
         

          สำหรับระนาดไม้นั้นน่าจะมีพัฒนาการมาจาก กรับ หรือ โกร่ง ซึ่งตามปกติใช้ ตีเพียง 2 ชิ้น แต่ได้มีการนำเอากรับซึ่งเป็นท่อนไม้สั้นๆจำนวนหลายชิ้นมาวางเรียงกัน แล้วใช้ไม้ตีลงไป ทำให้เกิดทำนองสูงต่ำแตกต่างกันตามขนาดความ สั้น-ยาว และ ความ หนา-บาง ของวัตถุดังเช่นเครื่องดนตรีของชาวอินโดนีเซียหรือชาวพื้นเมืองในประเทศ แอฟริกา

          การนำเอาไม้กรับหลายๆอันมาวางเรียงตีนั้นน่าจะเป็นต้นกำเนิดของเครื่องดนตรีประเภท โปงลาง และ ระนาดเอก ในปัจจุบันโดยจะเห็นได้จากเครื่องดนตรีของคนที่อยู่ในภูมิภาคแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เช่น พม่า ลาว กัมพูชา และร่องรอยการพัฒนาการของระนาดในภูมิภาคอื่นๆของโลกอีกหลายแห่งซึ่งก็มีเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีที่มีรูปร่างและลักษณะ คล้ายคลึงกัน เมื่อมีการนำไม้กรับขนาดต่างๆมาวางเรียงและใช้ไม้เคาะเพื่อให้เกิดเสียงที่ต่าง กันแล้วจึงมีการคิดไม้รองเป็นรางเพื่อวางไม้กรับเรียงต่อๆกันไป รวมทั้งมีการพัฒนา เพื่อให้คุณภาพเสียงดีขึ้นคือแก้ไขปรับปรุงไม้กรับให้มีขนาดลดหลั่นกันโดยเรียงลำดับ ตามความสูงต่ำของเสียงและทำรางรองไม้กรับให้มีลักษณะเป็น กล่องเสียง เพื่อให้ดัง กังวานยิ่งขึ้นเรียกว่า รางระนาด แล้วใช้เชือกร้อยไม้กรับขนาดต่างๆให้ติดกันเป็นผืน เรียกว่า ผืนระนาด ขึงแขวนไว้เหนือรางระนาด ต่อมาจึงประดิษฐ์แก้ไขตัดแต่งไม้กรับ ให้มีรูปร่างประณีตสวยงามและเรียกไม้กรับเหล่านี้เสียใหม่ว่า ลูกระนาด ทั้งยังได้พัฒนา วิธีการปรับแต่งระดับเสียงของไม้กรับโดยใช้ขี้ผึ้งผสมตะกั่ว แล้วลนไฟติดไว้ตรงบริเวณด้านล่างตรงส่วนหัว และส่วนท้ายของลูกระนาดเพื่อให้เกิดเสียงที่ลึกนุ่มนวลขึ้นเป็นการ เทียบเสียงลูกระนาดเพื่อให้ได้ระดับเสียงตรงตามที่ต้องการด้วย

          สรุปว่าลูกระนาดนั้นพัฒนาขึ้นมาจากไม้กรับประเภทต่างๆ ดังนั้นในหัวข้อนี้จึง ขอกล่าวถึงกรับประเภทต่างๆไว้ด้วยดังนี้ กรับ, โกร่ง ของไทยเป็น เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีกำกับจังหวะมี เสียงดังเช่นเดียวกับชื่อคือมีเสียง ดัง กรับ-กรับ เกิดจากการกระทบกันของวัตถุที่ใช้ทำเช่น ไม้ โลหะ หรือ งาช้าง กรับนั้น แบ่งตามลักษณะได้เป็น 3 ชนิดคือ กรับคู่ กรับพวง และ กรับเสภา
 
         กรับคู่ - เป็นกรับชนิดหนึ่งทำด้วยไม้ไผ่ลำมะลอกหรือไม้ไผ่สีสุก เป็นต้น นำมาผ่า ซีกให้มีขนาดยาวประมาณ 45 ซม. กว้างประมาณ 5 ซม.หนาประมาณ 1.5 ซม.จำนวนสองท่อน ถือมือละท่อน ใช้ทางด้านผิวไม้ตีกระทบกัน มักใช้ตีกำกับทำนองร้องเวลาเล่นละครชาตรี จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า กรับละคร นอกจากใช้ตีกำกับจังหวะแล้วยังใช้ตีเป็นสัญญาณในการเปลี่ยนท่ารำ และตีให้จังหวะในพิธีการต่างๆด้วย
         กรับพวง - เป็นกรับชนิดหนึ่งทำด้วยไม้ผสมแผ่นโลหะบางๆ ยาวประมาณ 20 ซม. จำนวนหลายแผ่นร้อยเชือกเข้าด้วยกัน มีไม้หนา 2 ชิ้นซึ่งเรียก
ว่า "ไม้ประกับข้าง" ประกับ ไว้ด้านนอกทั้งสองข้างไม้ประกับข้างนี้มักประดิษฐ์รูปร่างให้ เหมาะกับการใช้ตีลงบนฝ่ามือ วิธีตีใช้มือหนึ่งถือแล้วตีโดยใช้ อีกมือหนึ่งรองรับทำให้เกิดเสียงกระทบจากแผ่นไม้และแผ่น โลหะที่สอดอยู่ตรงกลางระหว่างไม้ประกับนั้น กรับพวงใช้ บรรเลงในวงมโหรีโบราณ การเล่นเพลงเรือ และ การแสดง โขนละคร 

แหล่งที่มาภาพ  : http://st.mengrai.ac.th/users/thong/61/03/index4_files/img021.jpg


         กรับเสภา - เป็นกรับชนิดหนึ่งทำด้วยไม้เนื้อแข็งเช่น ไม้ชิงชัน ลักษณะเป็นแท่ง สี่เหลี่ยมมีผิวด้านหนึ่งโค้งมนยาวประมาณ 20 ซม. กว้างประมาณ 5 ซม. หนาประมาณ 5 ซม.ใช้ขยับมือละคู่ ปัจจุบันมีนักดนตรีนำกรับที่ทำเลียนแบบกรับเสภาแต่มีลักษณะเป็นแท่งสี่เหลี่ยม ไม่มีผิวโค้งมนมาใช้ตีเป็นจังหวะโดยตีเน้นที่จังหวะปิดหรือจังหวะเสียงตก เช่นในจังหวะ ฉิ่ง - ฉับ กรับจะตีเฉพาะที่ลงจังหวะ ฉับ เท่านั้น ในการขับเสภาผู้ขับเสภาจะใช้กรับ 2 คู่ ถือมือละคู่ ผู้ขับเสภาจะขยับกรับ 2 คู่นี้ตามลักษณะท่วงทำนองที่เรียกชื่อด้วยคำนำหน้าว่า "ไม้" เช่น ไม้กรอ ไม้หนึ่ง ไม้สอง ไม้รบ หรือ ไม้สี่ สำหรับ ไม้กรอ ใช้ขยับประกอบในลีลาทั่วๆไป ไม้หนึ่งและไม้สองใช้ ขยับประกอบขับเสภาบทไหว้ครูส่วน ไม้รบ หรือ ไม้สี่ ใช้ขยับประกอบขับเสภาในลีลา รุกเร้า

แหล่งที่มาภาพ  : http://www4.msu.ac.th/satit/studentProj/2548/Selectted/M102/g02-Thaiclassicalmusic/IMGS/krabSePa.jpg  

          โกร่ง - เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีทำด้วยไม้ท่อนยาวที่มีลักษณะกลวงอยู่ ภายในเช่นลำไม้ไผ่แห้งหรือ ท่อนไม้ขุด มีความยาวแล้วแต่ต้องการ เจาะเป็นร่องยาวไป ตามปล้องหรือเว้นตรงข้อก็ได้ อาจเจาะเป็นร่องทั้ง 2 ข้างหรือข้างเดียวแต่สลับปล้องกันก็ได้เพื่อให้ตีเสียงดังก้องขึ้นเวลาตีวางลำท่อนไม้ราบไปตามพื้นมีท่อนไม้ 


        

แหล่งที่มาภาพ  : http://203.144.136.10/service/mod/heritage/nation/musical/img16.jpg

แหล่งที่มาข้อมูล  : http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/sakaew/sornchai_p/ranad/sec01p04.html

 

 

สร้างโดย: 
นางณัฏฐกัญญา เดชชนาพรสิทธิ์ หัวหน้าทีม และ นส.สุรัตติกรณ์ สุวรรณพรหม นักเรียน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 344 คน กำลังออนไลน์