• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:30dfd532f8c9ebfa5214d4fbd553ab66' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #cc99ff; font-size: 12pt\"><strong><span lang=\"TH\"></span></strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #cc99ff; font-size: 12pt\"><strong><span lang=\"TH\"><b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #66cc66\">ประเพณีชิงเปรต</span></span></b><b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99\"><o:p></o:p></span></b></span></strong></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #cc99ff; font-size: 12pt\"><strong><span lang=\"TH\"></span></strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #cc99ff; font-size: 12pt\"><strong><span lang=\"TH\"></span></strong></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u18987/p_34.jpg\" height=\"403\" width=\"600\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #cc99ff; font-size: 12pt\"><strong><span lang=\"TH\"></span></strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #cc99ff; font-size: 12pt\"><span lang=\"TH\"><strong><span><span style=\"color: #66cc66\">ความ</span><span style=\"color: #66cc66\">สำคัญ</span><br />\n<span>    </span>&quot;<span lang=\"TH\">ชิงเปรต&quot; เป็นประเพณีของภาคใต้ที่กระทำกันในวันสารท เดือน ๑๐ เป็นประเพณีสำคัญที่จัดขึ้นเพื่อทำบุญอุทิศแก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว พระยาอนุมานราชธนได้กล่าวไว้ในสารานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานว่า การชิงเปรตที่ปฏิบัติกันในประเพณีสารทเดือน ๑๐ นี้ มีลักษณะคล้ายกับการทิ้งกระจาดของจีน แต่การทิ้งกระจาดของจีนมีเป้าหมายตรงกับการตั้งเปรต-ชิงเปรตเพียงบางส่วน เท่านั้น กล่าวคือการทิ้งกระจาดของจีนเป็นการทิ้งทานให้แก่พวกผีไม่มีญาติ ส่วนการชิงเปรตของไทยเป็นการอุทิศส่วนกุศลไปให้ทั้งผี(เปรต) ที่เป็นญาติพี่น้องของตนเอง และที่ไม่มีญาติด้วย นอกจากนี้วิธีการปฏิบัติในการทิ้งกระจาดและการชิงเปรตก็แตกต่างกันด้วย</span><br />\n<span lang=\"TH\">ผู้ เฒ่าผู้แก่หลายคนได้ยืนยันว่าการชิงเปรตไม่เป็นความอัปมงคลแก่ผู้ชิงเปรตแต่ อย่างใด ในทางตรงกันข้ามกลับถือว่าเป็นการทำบุญด้วยซ้ำไป เพราะชื่อว่าบุตรหลานของเปรตตนใดชิงได้ เปรตตนนั้นย่อมได้รับส่วนนั้น เพียงแต่ว่าผู้ชิงต้องระมัดระวังในการที่อาหารหรือขนมที่ตั้งเปรตอาจตกหลาน ลงพื้น ซึ่งจะทำให้เกิดความสกปรกและเป็นอันตรายต่อสุขภาพเท่านั้น</span></span><span style=\"font-family: Tahoma; color: black\"><o:p></o:p></span></strong> </span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 12pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #cc99ff; font-size: 12pt\"><strong><span lang=\"TH\"></span></strong></span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #cc99ff; font-size: 12pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 12pt\" lang=\"TH\"><strong>พิธีกรรม</strong></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #cc99ff; font-size: 12pt\"><span lang=\"TH\"><strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 12pt\" lang=\"TH\">     </span><span>การตั้งเปรต และชิงเปรตจะกระทำกันในวันที่ยกหมรับไปวัด ไม่ว่าจะเป็นวันแรม ๑ ค่ำ หรือ แรม ๑๕ ค่ำ เดือนสิบ ก็ตาม ผู้ตั้งเปรตจะนำอาหารอีกส่วนหนึ่งไปเพื่อการตั้งเปรตด้วย อาหารที่ใช้ตั้งเปรตนี้ส่วนมากเป็นอาหารที่บรรพบุรุษที่เป็นเปรตชอบอย่างละ นิดอย่างละหน่อย ขนมที่ไม่ขาดคือ ขนมลา ขนมพอง ขนมบ้า ขนมเบซำ(ดีซำ) นอกจากขนมดังกล่าวแล้ว ยังมีของแห้งที่ใช้เป็นเสบียงกรังก็จัดฝากไปด้วย เช่น ข้าวสาร หอม กระเทียม พริก เกลือ กะปิ น้ำตาล น้ำปลา กล้วย อ้อย มะพร้าว ด้าย เข็มเย็บผ้า ธูปเทียน นำลงจัดในหมรับ โดยเอาของแห้งรองก้นและอยู่ภายใน ส่วนขนมทั้งหลายอยู่ชั้นนอก ปิดคลุมด้วยผืนลาทำเป็นรูปเจดีย์ยอดแหลม หรือรูปอื่นแล้วแต่การประดิษฐ์ของผู้จัด ส่วนภาชนะที่ใช้ แต่เดิมนิยมใช้กระเชอหรือถาด นำหมรับ</span></strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #cc99ff; font-size: 12pt\"><br />\n<strong><span lang=\"TH\">ที่จัดแล้วไปวัด รวมกันตั้งไว้บน</span> &quot;<span lang=\"TH\">ร้านเปรต&quot; ซึ่งสร้างไว้กลางวัดยกเสาสูง ต่อมาในระยะหลัง ๆ ร้านเปรตทำเป็นศาลา หลังคามุงจากหรือมุงกระเบื้องแล้วแต่ฐานะของวัด บางถิ่นจึงเรียก &quot;หลาเปรต&quot; บนร้านเปรตจะมีสายสิญจน์วงล้อมไว้รอบและต่อยาวไปจนถึงพระสงฆ์ที่นั่งอยู่ใน วิหารที่เป็นที่ทำพิธีกรรม โดยสวดบังสุกุลอัฐิหรือกระดาษเขียนชื่อของผู้ตาย ซึ่งบุตรหลายนำมารวมกันในพิธีต่อหน้าพระสงฆ์ บุตรหลานจะกรวดน้ำอุทิศส่วนบุญไปยังเปรตชนที่เป็นบรรพบุรุษ เมื่อเสร็จพิธีแล้ว เก็บสายสิญจน์ ขนมต่าง ๆ จะถูกแบ่งออกส่วนหนึ่ง พร้อมกับของแห้งไว้ถวายพระ อีกส่วนหนึ่งให้เปรตชนที่พอมีกำลังเข้ามาเสพได้ ในขณะเดียวกันผู้ที่มาร่วมทำบุญทั้งหนุ่มสาว เฒ่าแก่ และโดยเฉพาะเด็ก ๆ จะเข้าไปรุมกันแย่งขนมที่ตั้งเปรตด้วยความสนุกสนาน เชื่อกันว่า การแย่งขนมเปรตที่ผ่าการทำพิธีแล้วนี้จะได้กุศลแรง เป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว และยังเชื่อกันต่อไปว่าขนมเหล่านี้ถ้านำไปหว่านในสวนในนา จะทำให้พืชผลอุดมสมบูรณ์เพิ่มผลผลิตสูง โดยเฉพาะขนมเทียน บางแห่งนำไปติดไว้ตามต้นไม้ผลเพื่อให้มีผลดก หลังจากนั้น ก็มักมีผู้ใจบุญโปรยทาน โดยใช้เหรียญสตางค์โดยไปที่ละมากเหรียญ ตรงไปยังฝูงชน ที่เรียกว่า &quot;หว่านกำพรึก&quot; แย่งกันอย่างนุกสนาน</span></strong></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: black\" lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; color: black\"><o:p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #66cc66\"><b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99\" lang=\"TH\">สาระ</span></b><b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99\"><o:p></o:p></span></b></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; color: black\"><br />\n</span><b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #cc99ff\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">การ ทำบุญวันสารท เดือน ๑๐ กำหนดทำ ๒ ครั้ง คือ วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๐ และวันแรม ๑๕ ค่ำเดือน ๑๐ โดยเชื่อว่า วันแรม ๑ ค่ำ เป็นวันที่ยมบาลปล่อยให้เปรต หรือเปตชนขึ้นมาเยี่ยมลูกหลาน ๆ ก็จะทำบุญเลี้ยงต้อนรับ เมื่อถึงวันแรม ๑๕ ค่ำ ก็ถือว่าเป็นวันที่ปู่ย่าตายาย ต้องกลับยมโลก ลูกหลานก็ทำบุญเลี้ยงส่งอีกครั้งหนึ่ง</span></span></b><b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #cc99ff\"><br />\n<span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">การเตรียมข้าวของ ขนม ในวันทำบุญ เดือน ๑๐</span><br />\n<span lang=\"TH\">๑. ลา มีความหมายใช้แทนเสื้อผ้า</span><br />\n<span lang=\"TH\">๒. พอง มีความหมายว่าเป็นเครื่องประดับ</span><br />\n<span lang=\"TH\">๓. ขนมเบซำ (ขนมเจาะหู) ใช้แทนเงิน หรือสตางค์มีรูในสมัยก่อน</span><br />\n<span lang=\"TH\">๔. ขนมบ้า มีความหมายว่า เงินเหรียญ</span><br />\n<span lang=\"TH\">๕. ขนมเทียน ใช้แทนหมอนหนุน</span><br />\n<span lang=\"TH\">การ ชิงเปรต เป็นประเพณีที่ชาวพัทลุงถือปฏิบัติกันมาแต่โบราณ เป็นประเพณีสำคัญที่กระทำกันจนทุกวันนี้ ชาวพัทลุงแม้จะไปทำมาหากินในท้องถิ่นอื่น เมื่อถึงเดือน ๑๐ ก็มักจะกลับมาร่วมพิธีกับญาติทางบ้าน นับเป็นการช่วยเสริมการผูกพันระหว่างครอบครัวและญาติพี่น้อง ทั้งยังเป็นการระลึกถึงบุญคุณ และคุณงามความดีของบรรพบุรุษของตน แม้จะล่วงลับไปแล้วก็ตาม</span></span></span></b><span style=\"font-family: Tahoma; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"> </span></span><span style=\"font-family: Tahoma; color: black\"><o:p></o:p></span></o:p></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<a href=\"/node/41696\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18987/home_0.gif\" align=\"right\" height=\"50\" width=\"150\" /></a>\n</p>\n<p></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-family: Tahoma; color: #00cc99\"><o:p></o:p></span></b>  </p>\n', created = 1726352641, expire = 1726439041, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:30dfd532f8c9ebfa5214d4fbd553ab66' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประเพณีชิงเปรตประเพณีชิงเปรต

ประเพณีชิงเปรต

ความสำคัญ
    "ชิงเปรต" เป็นประเพณีของภาคใต้ที่กระทำกันในวันสารท เดือน ๑๐ เป็นประเพณีสำคัญที่จัดขึ้นเพื่อทำบุญอุทิศแก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้ว พระยาอนุมานราชธนได้กล่าวไว้ในสารานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานว่า การชิงเปรตที่ปฏิบัติกันในประเพณีสารทเดือน ๑๐ นี้ มีลักษณะคล้ายกับการทิ้งกระจาดของจีน แต่การทิ้งกระจาดของจีนมีเป้าหมายตรงกับการตั้งเปรต-ชิงเปรตเพียงบางส่วน เท่านั้น กล่าวคือการทิ้งกระจาดของจีนเป็นการทิ้งทานให้แก่พวกผีไม่มีญาติ ส่วนการชิงเปรตของไทยเป็นการอุทิศส่วนกุศลไปให้ทั้งผี(เปรต) ที่เป็นญาติพี่น้องของตนเอง และที่ไม่มีญาติด้วย นอกจากนี้วิธีการปฏิบัติในการทิ้งกระจาดและการชิงเปรตก็แตกต่างกันด้วย
ผู้ เฒ่าผู้แก่หลายคนได้ยืนยันว่าการชิงเปรตไม่เป็นความอัปมงคลแก่ผู้ชิงเปรตแต่ อย่างใด ในทางตรงกันข้ามกลับถือว่าเป็นการทำบุญด้วยซ้ำไป เพราะชื่อว่าบุตรหลานของเปรตตนใดชิงได้ เปรตตนนั้นย่อมได้รับส่วนนั้น เพียงแต่ว่าผู้ชิงต้องระมัดระวังในการที่อาหารหรือขนมที่ตั้งเปรตอาจตกหลาน ลงพื้น ซึ่งจะทำให้เกิดความสกปรกและเป็นอันตรายต่อสุขภาพเท่านั้น

พิธีกรรม

     การตั้งเปรต และชิงเปรตจะกระทำกันในวันที่ยกหมรับไปวัด ไม่ว่าจะเป็นวันแรม ๑ ค่ำ หรือ แรม ๑๕ ค่ำ เดือนสิบ ก็ตาม ผู้ตั้งเปรตจะนำอาหารอีกส่วนหนึ่งไปเพื่อการตั้งเปรตด้วย อาหารที่ใช้ตั้งเปรตนี้ส่วนมากเป็นอาหารที่บรรพบุรุษที่เป็นเปรตชอบอย่างละ นิดอย่างละหน่อย ขนมที่ไม่ขาดคือ ขนมลา ขนมพอง ขนมบ้า ขนมเบซำ(ดีซำ) นอกจากขนมดังกล่าวแล้ว ยังมีของแห้งที่ใช้เป็นเสบียงกรังก็จัดฝากไปด้วย เช่น ข้าวสาร หอม กระเทียม พริก เกลือ กะปิ น้ำตาล น้ำปลา กล้วย อ้อย มะพร้าว ด้าย เข็มเย็บผ้า ธูปเทียน นำลงจัดในหมรับ โดยเอาของแห้งรองก้นและอยู่ภายใน ส่วนขนมทั้งหลายอยู่ชั้นนอก ปิดคลุมด้วยผืนลาทำเป็นรูปเจดีย์ยอดแหลม หรือรูปอื่นแล้วแต่การประดิษฐ์ของผู้จัด ส่วนภาชนะที่ใช้ แต่เดิมนิยมใช้กระเชอหรือถาด นำหมรับ
ที่จัดแล้วไปวัด รวมกันตั้งไว้บน "ร้านเปรต" ซึ่งสร้างไว้กลางวัดยกเสาสูง ต่อมาในระยะหลัง ๆ ร้านเปรตทำเป็นศาลา หลังคามุงจากหรือมุงกระเบื้องแล้วแต่ฐานะของวัด บางถิ่นจึงเรียก "หลาเปรต" บนร้านเปรตจะมีสายสิญจน์วงล้อมไว้รอบและต่อยาวไปจนถึงพระสงฆ์ที่นั่งอยู่ใน วิหารที่เป็นที่ทำพิธีกรรม โดยสวดบังสุกุลอัฐิหรือกระดาษเขียนชื่อของผู้ตาย ซึ่งบุตรหลายนำมารวมกันในพิธีต่อหน้าพระสงฆ์ บุตรหลานจะกรวดน้ำอุทิศส่วนบุญไปยังเปรตชนที่เป็นบรรพบุรุษ เมื่อเสร็จพิธีแล้ว เก็บสายสิญจน์ ขนมต่าง ๆ จะถูกแบ่งออกส่วนหนึ่ง พร้อมกับของแห้งไว้ถวายพระ อีกส่วนหนึ่งให้เปรตชนที่พอมีกำลังเข้ามาเสพได้ ในขณะเดียวกันผู้ที่มาร่วมทำบุญทั้งหนุ่มสาว เฒ่าแก่ และโดยเฉพาะเด็ก ๆ จะเข้าไปรุมกันแย่งขนมที่ตั้งเปรตด้วยความสนุกสนาน เชื่อกันว่า การแย่งขนมเปรตที่ผ่าการทำพิธีแล้วนี้จะได้กุศลแรง เป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว และยังเชื่อกันต่อไปว่าขนมเหล่านี้ถ้านำไปหว่านในสวนในนา จะทำให้พืชผลอุดมสมบูรณ์เพิ่มผลผลิตสูง โดยเฉพาะขนมเทียน บางแห่งนำไปติดไว้ตามต้นไม้ผลเพื่อให้มีผลดก หลังจากนั้น ก็มักมีผู้ใจบุญโปรยทาน โดยใช้เหรียญสตางค์โดยไปที่ละมากเหรียญ ตรงไปยังฝูงชน ที่เรียกว่า "หว่านกำพรึก" แย่งกันอย่างนุกสนาน

สาระ
การ ทำบุญวันสารท เดือน ๑๐ กำหนดทำ ๒ ครั้ง คือ วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๐ และวันแรม ๑๕ ค่ำเดือน ๑๐ โดยเชื่อว่า วันแรม ๑ ค่ำ เป็นวันที่ยมบาลปล่อยให้เปรต หรือเปตชนขึ้นมาเยี่ยมลูกหลาน ๆ ก็จะทำบุญเลี้ยงต้อนรับ เมื่อถึงวันแรม ๑๕ ค่ำ ก็ถือว่าเป็นวันที่ปู่ย่าตายาย ต้องกลับยมโลก ลูกหลานก็ทำบุญเลี้ยงส่งอีกครั้งหนึ่ง
การเตรียมข้าวของ ขนม ในวันทำบุญ เดือน ๑๐
๑. ลา มีความหมายใช้แทนเสื้อผ้า
๒. พอง มีความหมายว่าเป็นเครื่องประดับ
๓. ขนมเบซำ (ขนมเจาะหู) ใช้แทนเงิน หรือสตางค์มีรูในสมัยก่อน
๔. ขนมบ้า มีความหมายว่า เงินเหรียญ
๕. ขนมเทียน ใช้แทนหมอนหนุน
การ ชิงเปรต เป็นประเพณีที่ชาวพัทลุงถือปฏิบัติกันมาแต่โบราณ เป็นประเพณีสำคัญที่กระทำกันจนทุกวันนี้ ชาวพัทลุงแม้จะไปทำมาหากินในท้องถิ่นอื่น เมื่อถึงเดือน ๑๐ ก็มักจะกลับมาร่วมพิธีกับญาติทางบ้าน นับเป็นการช่วยเสริมการผูกพันระหว่างครอบครัวและญาติพี่น้อง ทั้งยังเป็นการระลึกถึงบุญคุณ และคุณงามความดีของบรรพบุรุษของตน แม้จะล่วงลับไปแล้วก็ตาม

 

สร้างโดย: 
น.ส.อรวรรณ สุภิตาภรณ์ และ อาจารย์เกาวลิน ทวีสุข

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 444 คน กำลังออนไลน์