• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a159b4e44b4b5c4c733f53a0c7eba3c6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div>\n</div>\n<div>\n                                                                                                                                            <a href=\"/node/43205\"><img width=\"124\" src=\"/files/u20216/images3_0.jpg\" height=\"109\" style=\"width: 77px; height: 76px\" /></a>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n                     <strong><span style=\"color: #993366; background-color: #cc99ff\">  &quot;ปะการังเทียม” ป้องกันคลื่น อนุบาลสัตว์น้ำ</span></strong>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<br />\n                      <span style=\"color: #666699\">สำหรับแนวคิดในการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง โดยวิธีการใช้ปะการังเทียมในการป้องกัน หัวหน้าทีมวิจัย อธิบายว่า การวางปะการังเทียมป้องกันชายฝั่งนั้น จะช่วยบรรเทาคลื่นลม ที่เข้าซัดชายฝั่งให้ลดความรุนแรงลงได้ นอกจากนี้ ตัวปะการังเองยังเป็นประโยชน์ต่อระบบนิเวศน์ ที่จะเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น้ำ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อชายฝั่ง และไม่ทำลายทัศนียภาพของชายหาด โดยการทำการวิจัยครั้งนี้ได้จัดทำแบบจำลองทางกายภาพ ที่ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมชลศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มอ.เพื่อศึกษาพฤติกรรมด้านชลศาสตร์ของแท่งปะการังเทียม ก่อนมีการดำเนินการวางปะการังในพื้นที่จริง ซึ่งผลการทดลองออกมาเป็นที่น่าพอใจ เพราะสามารถกรองคลื่น และลดความรุนแรงของคลื่นในการซัดเข้าชายฝั่งได้กว่า 70% นี่จึงเป็นแนวทางในการลดการกัดเซาะชายฝั่งได้<br />\n <br />\nดังนั้น โครงการวิจัยชิ้นนี้ จึงได้นำร่องที่บริเวณหาดสมิหลา จ.สงขลา ที่มีพื้นที่การกัดเซาะของชายฝั่งเข้าขั้นวิกฤต โดยหัวหน้าทีมวิจัยให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า หาดสมิหลานั้น มีความยาวกว่า 2 กิโลเมตร ถูกจัดเป็นพื้นที่ที่มีการกัดเซาะที่รุนแรง เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2545 ซึ่งได้มีการแก้ปัญหาในหลายวิธี เช่น การวางรอดักทราย ทำเขื่อนกันคลื่น เพื่อป้องกัน แต่ปรากฏว่า การกัดเซาะกลับเกิดขึ้นใหม่ในพื้นที่ใกล้เคียง จึงแก้ปัญหาต่อโดยใช้หินไปโยนไว้ตามชายหาด นำตะกร้าใส่หินมาวาง กระทั่งวางกระสอบทรายตามแนวชายหาด เพื่อกันคลื่นแต่ก็พบว่ายังไม่สามารถป้องกันได้ จึงนำร่องการแก้ปัญหาโดยการนำปะการังเทียมมาใช้</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #666699\"><br />\n  \n<div>\n<a href=\"/imce/browse#\" onclick=\"imceFinitor(imceVar.activeRow); return false;\"><img width=\"600\" src=\"/files/u20216/p5523581n1.jpg\" height=\"399\" style=\"width: 467px; height: 226px\" /></a>\n</div>\n<p>\nวัสดุที่ใช้ก่อสร้างนั้นเป็นคอนกรีตล้วน เรียกว่า มาลีนไทด์ ซึ่งเป็นคอนกรีตที่ไม่ถูกกัดเซาะจากน้ำเค็ม ข้อดีพบว่าหากมองจากมาตรการเก่าๆ ที่ใช้ป้องกันนั้นจะมีข้อจำกัดหลายด้าน เช่น </p></span>\n</div>\n<div>\n<br />\n<span style=\"color: #666699\">1.เมื่อก่อสร้างแล้วแทนที่จะป้องกันในพื้นที่นี้ได้ แต่คลื่นก็ไปกัดเซาะในบริเวณอื่นแทน </span>\n</div>\n<div>\n<br />\n<span style=\"color: #666699\">2.งบประมาณสูง </span>\n</div>\n<div>\n<br />\n<span style=\"color: #666699\">3.ทัศนียภาพชายหาด เมื่อก่อสร้างแล้วจะไม่น่าดู เพราะการนำหินไปทิ้งตามชายหาด ทิ้งในทะแล หรือการทำเป็นกำแพงขึ้นมาเหนือน้ำ เพื่อป้องกันจะส่งผลกระทบในเรื่องของทัศนียภาพอย่างมาก ทำให้ชายหาดไม่น่ามอง </span>\n</div>\n<div>\n<br />\n<span style=\"color: #666699\">4.ส่วนของนิเวศทางทะเล ซึ่งการทำโครงการเกี่ยวกับธรรมชาตินั้นต้องมีส่วนช่วยในการฟื้นฟูทรัพยากร ธรรมชาติทางทะเลเช่นกัน” หน.ทีมวิจัย ให้ภาพ<br />\n <br />\nเร่งแก้ไขก่อนปัญหาลุกลาม<br />\nผศ.พยอม บอกถึงขั้นตอนการวางปะการังเทียมตามแนวชายฝั่งหาดสมิหลา ว่า เริ่มต้นจากการสำรวจวางผัง กำหนดจุดในการวาง แล้วนำแผ่นใยสังเคราะห์ไปปูพื้น จากนั้นนำหินมาวางเรียงในชั้นแรก เพื่อเป็นตัวรองรับปะการังเพื่อไม่ให้จมลงไปในทราย จึงนำปะการังไปจัดเรียงเป็นแนว เพื่อป้องกันความรุนแรงของคลื่น ที่ระดับน้ำลึก 4 เมตร โดยความสูงของชั้นหินรองพื้นหนาประมาณ 1.5 เมตร และตัวปะการังที่สูง 1.8 เมตร หนักกว่า 3 ตัน รวมแล้วจะมีความสูงของตัวปะการังอยู่ที่ 3.3 เมตร ซึ่งจะเหลือส่วนที่จมน้ำถึงผิวน้ำกว่า 60 เซนติเมตร ตรงนี้เองจะเป็นตัวชะลอความแรงของคลื่นได้ ซึ่งจะเริ่มลงมือวางปะการังเทียมในเดือนเมษายนปีหน้า<br />\n <br />\nนอกจากชายฝั่งหาดสมิหลาแล้ว ตลอดแนวชายฝั่งของ จ.นราธิวาส หาดนราทัศน์ ขึ้นมาจนถึงแนวชายหาด จ.ปัตตานี จนถึงแนวชายฝั่ง จ.สงขลา ที่หาดนาทับ หาดสะกอม และหาดสมิหลาพื้นที่โครงการนำร่อง ขึ้นไปจนถึงชายฝั่ง จ.นครศรีธรรมราช นี่เป็นเพียงบางส่วนของฟื้นที่เสี่ยงภัย ชายหาดที่ได้รับผลกระทบขั้นรุนแรงจากวิกฤตของการกัดเซาะชายฝั่ง<br />\n“คณะ ทีมงานวิจัยได้ลงมือศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลทั้งจากต่างประเทศ และภายในประเทศเรื่องของการกัดเซาะชายฝั่งทะเล เป็นเวลากว่า 8 เดือน แต่เวลาที่ทำมาโดยตลอดรวมแล้วถึง 2 ปี ใช้งบกว่า 5 ล้านบาทในการทำวิจัย และโครงการนำร่องที่หาดสมิหลาใช้งบสูงถึง 85 ล้านบาท ดังนั้น จึงคาดหวังให้โครงการนี้ช่วยแก้ไขปัญหา หรือแบ่งเบาภาวะการกัดเซาะชายหาดให้ได้มากที่สุด แต่โครงการปะการังเทียมนี้ ก็ใช่ว่าจะใช้ได้กับทุกพื้นที่ที่ประสบปัญหา เนื่องจากสภาพคลื่นลม สภาพพื้นที่แตกต่างกัน ดังนั้น ต้องมีการทำการวิจัยต่อไปในพื้นที่ต่างๆ โดยเร็วที่สุดหาแนวทางป้องกัน” หน.ทีมวิจัย ทิ้งท้าย<br />\nอ้างอิงข่าวและรูปจาก ผู้จัดการออนไลน์ 23 กรกฎาคม 2551</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #666699\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #666699\"></span>\n</div>\n<div>\n<div>\n                                                                          <a href=\"/imce/browse#\" onclick=\"imceFinitor(imceVar.activeRow); return false;\"><img width=\"99\" src=\"/files/u20216/starfish.gif\" height=\"46\" /></a>\n</div>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #666699\"></span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715287380, expire = 1715373780, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a159b4e44b4b5c4c733f53a0c7eba3c6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

"ปะการังดทียม" ป้องกันคลื่น อนุบาลสัตว์น้ำ

                                                                                                                                            
                       "ปะการังเทียม” ป้องกันคลื่น อนุบาลสัตว์น้ำ

                      สำหรับแนวคิดในการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง โดยวิธีการใช้ปะการังเทียมในการป้องกัน หัวหน้าทีมวิจัย อธิบายว่า การวางปะการังเทียมป้องกันชายฝั่งนั้น จะช่วยบรรเทาคลื่นลม ที่เข้าซัดชายฝั่งให้ลดความรุนแรงลงได้ นอกจากนี้ ตัวปะการังเองยังเป็นประโยชน์ต่อระบบนิเวศน์ ที่จะเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น้ำ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อชายฝั่ง และไม่ทำลายทัศนียภาพของชายหาด โดยการทำการวิจัยครั้งนี้ได้จัดทำแบบจำลองทางกายภาพ ที่ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมชลศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มอ.เพื่อศึกษาพฤติกรรมด้านชลศาสตร์ของแท่งปะการังเทียม ก่อนมีการดำเนินการวางปะการังในพื้นที่จริง ซึ่งผลการทดลองออกมาเป็นที่น่าพอใจ เพราะสามารถกรองคลื่น และลดความรุนแรงของคลื่นในการซัดเข้าชายฝั่งได้กว่า 70% นี่จึงเป็นแนวทางในการลดการกัดเซาะชายฝั่งได้
 
ดังนั้น โครงการวิจัยชิ้นนี้ จึงได้นำร่องที่บริเวณหาดสมิหลา จ.สงขลา ที่มีพื้นที่การกัดเซาะของชายฝั่งเข้าขั้นวิกฤต โดยหัวหน้าทีมวิจัยให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า หาดสมิหลานั้น มีความยาวกว่า 2 กิโลเมตร ถูกจัดเป็นพื้นที่ที่มีการกัดเซาะที่รุนแรง เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2545 ซึ่งได้มีการแก้ปัญหาในหลายวิธี เช่น การวางรอดักทราย ทำเขื่อนกันคลื่น เพื่อป้องกัน แต่ปรากฏว่า การกัดเซาะกลับเกิดขึ้นใหม่ในพื้นที่ใกล้เคียง จึงแก้ปัญหาต่อโดยใช้หินไปโยนไว้ตามชายหาด นำตะกร้าใส่หินมาวาง กระทั่งวางกระสอบทรายตามแนวชายหาด เพื่อกันคลื่นแต่ก็พบว่ายังไม่สามารถป้องกันได้ จึงนำร่องการแก้ปัญหาโดยการนำปะการังเทียมมาใช้

 

วัสดุที่ใช้ก่อสร้างนั้นเป็นคอนกรีตล้วน เรียกว่า มาลีนไทด์ ซึ่งเป็นคอนกรีตที่ไม่ถูกกัดเซาะจากน้ำเค็ม ข้อดีพบว่าหากมองจากมาตรการเก่าๆ ที่ใช้ป้องกันนั้นจะมีข้อจำกัดหลายด้าน เช่น


1.เมื่อก่อสร้างแล้วแทนที่จะป้องกันในพื้นที่นี้ได้ แต่คลื่นก็ไปกัดเซาะในบริเวณอื่นแทน

2.งบประมาณสูง

3.ทัศนียภาพชายหาด เมื่อก่อสร้างแล้วจะไม่น่าดู เพราะการนำหินไปทิ้งตามชายหาด ทิ้งในทะแล หรือการทำเป็นกำแพงขึ้นมาเหนือน้ำ เพื่อป้องกันจะส่งผลกระทบในเรื่องของทัศนียภาพอย่างมาก ทำให้ชายหาดไม่น่ามอง

4.ส่วนของนิเวศทางทะเล ซึ่งการทำโครงการเกี่ยวกับธรรมชาตินั้นต้องมีส่วนช่วยในการฟื้นฟูทรัพยากร ธรรมชาติทางทะเลเช่นกัน” หน.ทีมวิจัย ให้ภาพ
 
เร่งแก้ไขก่อนปัญหาลุกลาม
ผศ.พยอม บอกถึงขั้นตอนการวางปะการังเทียมตามแนวชายฝั่งหาดสมิหลา ว่า เริ่มต้นจากการสำรวจวางผัง กำหนดจุดในการวาง แล้วนำแผ่นใยสังเคราะห์ไปปูพื้น จากนั้นนำหินมาวางเรียงในชั้นแรก เพื่อเป็นตัวรองรับปะการังเพื่อไม่ให้จมลงไปในทราย จึงนำปะการังไปจัดเรียงเป็นแนว เพื่อป้องกันความรุนแรงของคลื่น ที่ระดับน้ำลึก 4 เมตร โดยความสูงของชั้นหินรองพื้นหนาประมาณ 1.5 เมตร และตัวปะการังที่สูง 1.8 เมตร หนักกว่า 3 ตัน รวมแล้วจะมีความสูงของตัวปะการังอยู่ที่ 3.3 เมตร ซึ่งจะเหลือส่วนที่จมน้ำถึงผิวน้ำกว่า 60 เซนติเมตร ตรงนี้เองจะเป็นตัวชะลอความแรงของคลื่นได้ ซึ่งจะเริ่มลงมือวางปะการังเทียมในเดือนเมษายนปีหน้า
 
นอกจากชายฝั่งหาดสมิหลาแล้ว ตลอดแนวชายฝั่งของ จ.นราธิวาส หาดนราทัศน์ ขึ้นมาจนถึงแนวชายหาด จ.ปัตตานี จนถึงแนวชายฝั่ง จ.สงขลา ที่หาดนาทับ หาดสะกอม และหาดสมิหลาพื้นที่โครงการนำร่อง ขึ้นไปจนถึงชายฝั่ง จ.นครศรีธรรมราช นี่เป็นเพียงบางส่วนของฟื้นที่เสี่ยงภัย ชายหาดที่ได้รับผลกระทบขั้นรุนแรงจากวิกฤตของการกัดเซาะชายฝั่ง
“คณะ ทีมงานวิจัยได้ลงมือศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลทั้งจากต่างประเทศ และภายในประเทศเรื่องของการกัดเซาะชายฝั่งทะเล เป็นเวลากว่า 8 เดือน แต่เวลาที่ทำมาโดยตลอดรวมแล้วถึง 2 ปี ใช้งบกว่า 5 ล้านบาทในการทำวิจัย และโครงการนำร่องที่หาดสมิหลาใช้งบสูงถึง 85 ล้านบาท ดังนั้น จึงคาดหวังให้โครงการนี้ช่วยแก้ไขปัญหา หรือแบ่งเบาภาวะการกัดเซาะชายหาดให้ได้มากที่สุด แต่โครงการปะการังเทียมนี้ ก็ใช่ว่าจะใช้ได้กับทุกพื้นที่ที่ประสบปัญหา เนื่องจากสภาพคลื่นลม สภาพพื้นที่แตกต่างกัน ดังนั้น ต้องมีการทำการวิจัยต่อไปในพื้นที่ต่างๆ โดยเร็วที่สุดหาแนวทางป้องกัน” หน.ทีมวิจัย ทิ้งท้าย
อ้างอิงข่าวและรูปจาก ผู้จัดการออนไลน์ 23 กรกฎาคม 2551
                                                                         

 

สร้างโดย: 
น.ส.พิณพิไล วิเศษศิริ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 298 คน กำลังออนไลน์