• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8faf4a3566412c8f7919dbd7cb52723e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div>\n                                                                                                                                           \n</div>\n<div>\n                                                                                                                                       <a href=\"/node/43205\"><img width=\"124\" src=\"/files/u20216/images3_0.jpg\" height=\"109\" style=\"width: 76px; height: 65px\" /></a>\n</div>\n<div>\n                   <span style=\"color: #800080; background-color: #cc99ff\"><strong>&quot; ปะการังเทียม &quot;</strong></span>\n</div>\n<div>\n<strong>                   <span style=\"color: #800080; background-color: #cc99ff\">มีหลายจุดประสงค์</span></strong>\n</div>\n<div>\n<strong><span style=\"color: #800080; background-color: #cc99ff\"></span></strong>\n</div>\n<div>\n     \n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">1.เพื่อฟื้นฟูสัตว์น้ำ (fish aggregation device)<br />\nในอดีตอาจใช้เป็นวัสดุธรรมชาติ เพื่อการประมงให้จับปลาได้ง่ายขึ้น ปัจจุบันพัฒนาเป็นหลายรูปแบบ มีการถกเถียงกัน เรื่องของว่าเป็นเพียงแค่การรวมฝูงปลาให้มาจับแค่นั้น ซึ่งจะไม่เป็นผลดีต่อทรัพยากรสัตว์น้ำโดยรวม แต่ จากข้อมูลวิชาการ ณ วันนี้ ยืนยันได้ว่า หากทำดีพอแล้วจะเป็นเหมือนบ้านใหม่ให้สัตว์น้ำ เพิ่มพื้นที่อาศัยขยายพันธุ์ และหลบซ้อนจากภัยอันตรายและเครื่องมือประมง วัสดุและรูปแบบที่ใช้ในปัจจุบันเป็นปูนหล่อกลวงรูปสี่เหลี่ยม 1*1 เมตร เนื่องจากมีผลงานวิจัยรองรับว่าเหมาะสม และไม่เป็นพิษกับสิ่งแวดล้อม</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">2.เป็นเครื่องมือในการจัดการการประมง (tool for fishery management)<br />\nใช้ในกรณีที่พื้นที่มีปัญหาระหว่างประมงพาณิชย์ขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอวนลาก และอวนรุน กับประมงพื้นบ้านซึ่งทำมาหากินอยู่ใกล้ฝั่ง ในปัจจุบันนิยมกระทำกันโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนพื้นบ้าน เนื่องจากในทางกฎหมาย เขต 3000 เมตรจากฝั่งก็ห้ามการใช้เครื่องมือประมงบางประเภทอยู่แล้ว จึงไม่ถือว่าเป็นการลิดรอนสิทธิของประมงพาณิชย์ แต่เป็นเครื่องมือเพิ่มเติมเพื่อให้มาตรการทางกฎหมายมีผลเป็นรูปธรรมมากขึ้น วัสดุและรูปแบบที่ใช้มันเหมือนกันข้อ 1.</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\"></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">3.เป็นแนวปะการังเทียม (artificial reef)<br />\n(หลายคนพอพูดถึงปะการังเทียมมักเข้าใจว่าเป็นจุดประสงค์นี้แต่เพียงอย่างเดียว) อันนี้เป็นลักษณะของการฟื้นฟูแนวปะการังธรรมชาติให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น .... แต่.... การจะใช้ปะการังเทียมเพื่อจุดประสงค์นี้มีข้อควรคำนึงมาก โดยสรุปแล้วจะใช้วิธีนี้สำหรับพื้นที่ๆ มีปัญหาเรื่องพื้นที่ลงเกาะของตัวอ่อนปะการัง เช่น เกิดปัญหาจากตะกอนบนแผ่นดินลงมาทับถม และหากมีตัวอ่อนปะการังในมวลน้ำอยู่แล้ว ก็ปล่อยไปตามธรรมชาติ แต่หากไม่มีตัวอ่อนของปะการังในธรรมชาติ อาจใช้วิธีย้ายปลูกได้ วัสดุและรูปแบบที่ใช้เหมือนกันข้อ 1 หรืออาจเป็นลักษณะอื่นเช่น reefball ท่อซีเมนต์ติดกัน เป็นต้น</span>\n</div>\n<div>\n<div>\n                                                                                                <a href=\"/imce/browse#\" onclick=\"imceFinitor(imceVar.activeRow); return false;\"><img width=\"135\" src=\"/files/u20216/Star.gif\" height=\"94\" /></a>\n</div>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">4.เป็นแหล่งดำน้ำเทียม (artificial diving site)<br />\nอันนี้ชัดเจน เพื่อการเป็นแหล่งดำน้ำ จะทำรูปอะไรก็ทำ ให้มีคนมาดำน้ำตามวัตถุประสงค์ของมัน .. แต่ต้องไม่มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม เงื่อนไขที่ควรคำนึงคร่าวๆ ปัจจุบันคือ วัสดุต้องไม่เป็นพิษกับสิ่งแวดล้อม ต้องไม่วางบนแนวปะการังจริง ไม่ขวางกระแสน้ำจนเกิดปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง อยู่ในความลึกที่เหมาะสม (มักไม่เกิน 20 เมตร) ที่สำคัญนอกเหนือจากที่กล่าวมาคืออยู่ในจุดที่คนมาดำน้ำ เนื่องจาก (เชื่อกันว่า) ลดผลกระทบจากการดำน้ำได้บ้าง โดยเฉพาะกับพวกมือใหม่ และ dive แรกของการดำน้ำ </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">...</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">การจะพูดถึงปะการังเทียม จึงควรพิจารณาถึงเหตุผลของการทำปะการังเทียมว่าทำเพื่ออะไร ถึงจะสามารถพิจารณาว่าเหมาะ ไม่เหมาะ ควร ไม่ควร บวก หรือ ลบ มากกว่ากัน</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">ในการพิจารณาถึงผลกระทบสิ่งแวดล้อม ควรพิจารณาถึงทั้ง ในเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ ประกอบกัน</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\"></span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<div>\n<a href=\"/imce/browse#\" onclick=\"imceFinitor(imceVar.activeRow); return false;\"><img width=\"500\" src=\"/files/u20216/1223528883.jpg\" height=\"375\" /></a>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n <span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>     <span style=\"color: #993366\">ผลจากการสร้างปะการังเทียม ทำให้ชาวประมงขนาดเล็กมีแหล่งทำการประมงชายฝั่งที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพราะไม่ต้องออกไปทำการประมงไกล ลดต้นทุนค่าน้ำมันเชื้อเพลิง มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินมากยิ่งขึ้น เนื่องจากทำการประมงใกล้ชายฝั่ง ไม่ต้องออกไปไกล สามารถลดข้อขัดแย้งระหว่างชาวประมงในพื้นที่กับประมงแบบอวนลากและอวนรุนได้มากขึ้น เพราะมีการช่วยกันดูแลทรัพยากรธรรมชาติร่วมกันของชาวประมงในท้องถิ่น </span></span></span>\n</div>\n<p>\n</p></div>\n<div>\n<span style=\"color: #993366\">          </span>\n</div>\n', created = 1715291628, expire = 1715378028, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8faf4a3566412c8f7919dbd7cb52723e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

จุดประสงค์

                                                                                                                                           
                                                                                                                                      
                   " ปะการังเทียม "
                   มีหลายจุดประสงค์
     
1.เพื่อฟื้นฟูสัตว์น้ำ (fish aggregation device)
ในอดีตอาจใช้เป็นวัสดุธรรมชาติ เพื่อการประมงให้จับปลาได้ง่ายขึ้น ปัจจุบันพัฒนาเป็นหลายรูปแบบ มีการถกเถียงกัน เรื่องของว่าเป็นเพียงแค่การรวมฝูงปลาให้มาจับแค่นั้น ซึ่งจะไม่เป็นผลดีต่อทรัพยากรสัตว์น้ำโดยรวม แต่ จากข้อมูลวิชาการ ณ วันนี้ ยืนยันได้ว่า หากทำดีพอแล้วจะเป็นเหมือนบ้านใหม่ให้สัตว์น้ำ เพิ่มพื้นที่อาศัยขยายพันธุ์ และหลบซ้อนจากภัยอันตรายและเครื่องมือประมง วัสดุและรูปแบบที่ใช้ในปัจจุบันเป็นปูนหล่อกลวงรูปสี่เหลี่ยม 1*1 เมตร เนื่องจากมีผลงานวิจัยรองรับว่าเหมาะสม และไม่เป็นพิษกับสิ่งแวดล้อม
2.เป็นเครื่องมือในการจัดการการประมง (tool for fishery management)
ใช้ในกรณีที่พื้นที่มีปัญหาระหว่างประมงพาณิชย์ขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอวนลาก และอวนรุน กับประมงพื้นบ้านซึ่งทำมาหากินอยู่ใกล้ฝั่ง ในปัจจุบันนิยมกระทำกันโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนพื้นบ้าน เนื่องจากในทางกฎหมาย เขต 3000 เมตรจากฝั่งก็ห้ามการใช้เครื่องมือประมงบางประเภทอยู่แล้ว จึงไม่ถือว่าเป็นการลิดรอนสิทธิของประมงพาณิชย์ แต่เป็นเครื่องมือเพิ่มเติมเพื่อให้มาตรการทางกฎหมายมีผลเป็นรูปธรรมมากขึ้น วัสดุและรูปแบบที่ใช้มันเหมือนกันข้อ 1.
3.เป็นแนวปะการังเทียม (artificial reef)
(หลายคนพอพูดถึงปะการังเทียมมักเข้าใจว่าเป็นจุดประสงค์นี้แต่เพียงอย่างเดียว) อันนี้เป็นลักษณะของการฟื้นฟูแนวปะการังธรรมชาติให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น .... แต่.... การจะใช้ปะการังเทียมเพื่อจุดประสงค์นี้มีข้อควรคำนึงมาก โดยสรุปแล้วจะใช้วิธีนี้สำหรับพื้นที่ๆ มีปัญหาเรื่องพื้นที่ลงเกาะของตัวอ่อนปะการัง เช่น เกิดปัญหาจากตะกอนบนแผ่นดินลงมาทับถม และหากมีตัวอ่อนปะการังในมวลน้ำอยู่แล้ว ก็ปล่อยไปตามธรรมชาติ แต่หากไม่มีตัวอ่อนของปะการังในธรรมชาติ อาจใช้วิธีย้ายปลูกได้ วัสดุและรูปแบบที่ใช้เหมือนกันข้อ 1 หรืออาจเป็นลักษณะอื่นเช่น reefball ท่อซีเมนต์ติดกัน เป็นต้น
                                                                                               
4.เป็นแหล่งดำน้ำเทียม (artificial diving site)
อันนี้ชัดเจน เพื่อการเป็นแหล่งดำน้ำ จะทำรูปอะไรก็ทำ ให้มีคนมาดำน้ำตามวัตถุประสงค์ของมัน .. แต่ต้องไม่มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม เงื่อนไขที่ควรคำนึงคร่าวๆ ปัจจุบันคือ วัสดุต้องไม่เป็นพิษกับสิ่งแวดล้อม ต้องไม่วางบนแนวปะการังจริง ไม่ขวางกระแสน้ำจนเกิดปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง อยู่ในความลึกที่เหมาะสม (มักไม่เกิน 20 เมตร) ที่สำคัญนอกเหนือจากที่กล่าวมาคืออยู่ในจุดที่คนมาดำน้ำ เนื่องจาก (เชื่อกันว่า) ลดผลกระทบจากการดำน้ำได้บ้าง โดยเฉพาะกับพวกมือใหม่ และ dive แรกของการดำน้ำ
...
การจะพูดถึงปะการังเทียม จึงควรพิจารณาถึงเหตุผลของการทำปะการังเทียมว่าทำเพื่ออะไร ถึงจะสามารถพิจารณาว่าเหมาะ ไม่เหมาะ ควร ไม่ควร บวก หรือ ลบ มากกว่ากัน
ในการพิจารณาถึงผลกระทบสิ่งแวดล้อม ควรพิจารณาถึงทั้ง ในเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ ประกอบกัน
      ผลจากการสร้างปะการังเทียม ทำให้ชาวประมงขนาดเล็กมีแหล่งทำการประมงชายฝั่งที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพราะไม่ต้องออกไปทำการประมงไกล ลดต้นทุนค่าน้ำมันเชื้อเพลิง มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินมากยิ่งขึ้น เนื่องจากทำการประมงใกล้ชายฝั่ง ไม่ต้องออกไปไกล สามารถลดข้อขัดแย้งระหว่างชาวประมงในพื้นที่กับประมงแบบอวนลากและอวนรุนได้มากขึ้น เพราะมีการช่วยกันดูแลทรัพยากรธรรมชาติร่วมกันของชาวประมงในท้องถิ่น

         
สร้างโดย: 
น.ส.พิณพิไล วิเศษศิริ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 369 คน กำลังออนไลน์