• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บล็อก', 'node/4919', '', '18.226.87.83', 0, 'ae0fcd192a9ab6c88d87393efe939c04', 161, 1716159972) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d46e76519ceb197cc6824aadc1d79002' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: small;\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif;\"><span style=\"font-size: small;\"><span style=\"font-size: medium;\"><span style=\"color: #333300; background-color: #ff99cc;\">อาหารหลักของชาวนครสวรรค์เป็นข้าวเจ้าเหมือนชาวภาคกลางทั่วไป การรับประทานอาหารนิยมนั่งล้อมเป็นวงกับพื้นบ้านใกล้ครัว มีสำรับกับข้าววางบนถาดสังกะสีเคลือบ ใช้จานสังกะสีใช้มือเปิบข้าว มีช้อนสำหรับตักแกง มีถ้วยหรือจานใส่น้ำเปล่าวางข้าง ๆ สำหรับล้างมือ ส่วนชาวไทยเชื้อสายจีนซึ่งมีอาชีพค้าขายอาศัยอยู่ตึกแถวในเมืองจะนั่งรับประทานอาหารล้อมเป็นวงบนโต๊ะกลมที่เรียกว่า “ชึ้ง” นิยมใช้ตะเกียบ116<br /> ปัจจุบันสภาพบ้านเรือนเปลี่ยนไปวัฒนธรรมด้านการกินอยู่จึงนิยมแบบตะวันตก เช่น นั่งโต๊ะใช้ช้อนหรือช้อนส้อม ถ้วยชามกระเบื้อง การนั่งกับพื้นล้อมวงรับประทานอาหารยังคงมีอยู่บ้างในกลุ่มชาวบ้าน</span></span></span><span style=\"font-size: x-small;\"> </span></span></span></p>\n<p><span style=\"font-size: small;\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif;\"><span style=\"font-size: medium;\"><span style=\"color: #99cc00;\"><strong><span style=\"text-decoration: underline;\"><span style=\"color: #ff9900;\"><span style=\"font-size: small;\">&nbsp;<span style=\"font-size: medium;\"><span style=\"color: #333300;\"><img style=\"width: 199px; height: 124px;\" src=\"/library/studentshow/2549/m3-2/no01-02-12-13/picture/food.jpg\" alt=\"64\" width=\"381\" height=\"374\" border=\"0\" /></span></span></span></span></span></strong></span></span></span></span></p>\n<p><span style=\"font-size: small;\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif;\"><span style=\"font-size: small;\"><span style=\"font-size: medium;\"><span style=\"color: #99cc00;\"><strong><span style=\"text-decoration: underline;\"><span style=\"color: #ff9900;\">อาหารประจำวันของชาวบ้านจังหวัดนครสวรรค์ <br /> </span></span></strong>เป็นข้าวเจ้ารับประทานกับปลาร้า ปูดองน้ำเกลือ แกงพริกเกลือหรือแกงปาร้าสับ แกงส้มปลาช่อน แกงบอน แกงขี้เหล็ก แกงป่าขี้เหล็ก แกงนอกหม้อ แกงหยวก ยำหัวปลี<br /> ในฤดูน้ำหลากปลาจะวางไข่ ปลายเดือนสิบ เดือนสิบเอ็ด เดือนสิบสอง น้ำจะเริ่มลดชาวบ้านจะทอดแหตามหนองน้ำได้ปลาดุก ปลาช่อนจำนวนมาก ก็จะนำมาเคล้าเกลือตากแห้ง เรียกว่า “ปลาเกลือ” ไว้สำหรับทอด หรือต้มกะทิปลาเกลือกับใบมะขามอ่อน ถ้าได้ปลาสร้อยปลาซิวจะนำมาหมักเกลือต้มเป็นน้ำปลา สำหรับปลาฉลาด ปลากราย นำมาขูดแล้วปั้นเป็นลูกชิ้นปลากราย หรือผสมเครื่องแกง ปั้นเป็นแผ่นทอด เรียกว่า “ปลาเห็ด” ปัจจุบันเรียกว่า “ปลาทอดมัน”117<br /> ผลไม้ของจังหวัดนครสวรรค์ คือ ละมุด ขนุน มะปราง กล้วยหอม กล้วยน้ำว้า กล้วยไข่ น้อยหน่า มะม่วง มะขาม มะยม มะละกอ ฝรั่ง<br /> ผลไม้ท้องถิ่นที่ขึ้นชื่อของตำบลบางมะฝ่อ อำเภอโกรกพระ คือ ละมุดกรอบ ขนุน มะปราง118 ส่วนที่ตำบลเกยไชย อำเภอชุมแสง นิยมปลูกต้นตาลจึงมีเชื่อเสียงในการทำน้ำตาลปึก น้ำตาลสด น้ำตาลเมา ตาลอ่อน ลอนตาลเชื่อม จาวตาลเชื่อม119</span></span></span><span style=\"font-size: x-small;\"> </span></span></span></p>\n<p><br /> <span style=\"font-size: small;\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif;\"><span style=\"font-size: small;\"><span style=\"font-size: medium;\"><span style=\"color: #00ccff;\"><span style=\"text-decoration: underline;\"><span style=\"color: #ff9900;\">อาหารประจำวันของชุมชนกลุ่มน้อยบางพื้นที่ <br /> </span></span>เช่น ชาวไทยเชื้อสายพวน ในอำเภอตาคลี ชาวไทยเชื้อสายพวนและไทยทรงดำ (ลาวโซ่ง) ในอำเภอท่าตะโก และชาวอีสานที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานในอำเภอลาดยาว นิยมรับประทานข้าวเหนียวกับปลาแดก (ปลาร้า) ปลาแคร่ ลาบ ลู่ ต้มแซบใส่ขี้เพี้ยหรือไส้อ่อนวัว120</span></span></span><span style=\"font-size: x-small;\"> </span></span></span></p>\n<p><br /> <span style=\"font-size: medium;\"><span style=\"font-size: small;\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif;\"><span style=\"font-size: x-small;\"><span style=\"color: #ff99cc;\"><strong><span style=\"text-decoration: underline;\"><span style=\"color: #ff9900;\">อาหารประจำวันของชุมชนเชื้อสายจีน</span></span></strong> <br /> นิยมรับประทานอาหารที่มีรสจืด เช่น แกงจืดเต้ากัวคือแกงจืดเต้าหู้อ่อน แกงจืดวุ้นเส้น ผัดคะน้า ผัดผักบุ้งจีน ขนมบัวเกี้ย เต้าทึง เช็งทึง121</span> </span></span></span></span></p>\n<p><span style=\"font-size: small;\"><span style=\"font-family: comic sans ms,sans-serif;\"><span style=\"color: #ff6600;\"><span style=\"font-size: small;\"><span style=\"font-size: medium;\"><span style=\"text-decoration: underline;\"><span style=\"color: #ff9900;\">อาหารเฉพาะเทศกาลวันสำคัญทางศาสนา</span></span> <br /> ส่วนใหญ่จะทำขนมจีนน้ำยา ในเทศกาลวันตรุษสารท จะกวนข้าวเหนียวแดง ขนมกวน กระยาสารทซึ่งนิยมรับประทานกับกล้วยไข่ ข้าวต้มมัด ข้าวต้มลูกโยน ขนมต้มญวน ขนมเปี๊ยะ สำหรับงานพิธีอันเป็นมงคล เช่น งานแต่งงานขนมที่นิยมใช้เป็นขนมขันหมาก คือ ขนมกง ขนมเปี๊ยะ ในเทศกาลตรุษสงกรานต์ที่ตำบลบางมะฝ่อ อำเภอโกรกพระ จะมี “ข้าวแช่”</span></span><span style=\"font-size: x-small;\"> </span></span></span></span><span style=\"font-size: medium;\"><span style=\"font-size: small; font-family: comic sans ms,sans-serif;\"><span style=\"font-size: x-small;\"><span style=\"color: #ff6600;\">ฤดูหนาวชาวบ้านจะเผาข้าวหลาม เพราะช่วงฤดูหนาวมีข้าวเหนียวใหม่และกระบอกไม้ไผ่แทงหน่อตั้งแต่เมื่อเริ่มฤดูฝนจะมีขนาดพอเหมาะและมีความหอมจึงนำมาเผาข้าวหลามซึ่งจะทำให้ข้าวหลามมีกลิ่นหอมรสหวาน บางแห่งจะทำ “หน้ากระฉีก” คือมะพร้าวขูดผัดน้ำตาลปีบจิ้มกับข้าวหลาม122</span><br /> </span></span></span></p>\n<p><span style=\"font-size: medium;\"><span style=\"font-size: small; color: #808000; font-family: comic sans ms,sans-serif; background-color: #ff99cc;\"><span style=\"font-size: x-small;\">ปัจจุบันอาหารต่าง ๆ ได้แปรเปลี่ยนไปตามสภาพความเป็นอยู่ มีการพัฒนารูปแบบไปตามความนิยมของสังคม นิยมซื้ออาหารรับประทานมากกว่าการปรุงอาหารเองสำหรับชุมชนในท้องถิ่นยังคงปรุงอาหารรับประทานเอง</span></span></span></p>\n<p><span style=\"font-size: medium;\"><img style=\"width: 225px; height: 169px;\" src=\"http://www.triobiz.com/images/1165399521/1dimsam.jpg\" alt=\"13\" width=\"510\" height=\"349\" border=\"0\" /></span>&nbsp;</p>\n', created = 1716159982, expire = 1716246382, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d46e76519ceb197cc6824aadc1d79002' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วัฒนธรรมการกินของคนไทย

รูปภาพของ sss28332

อาหารหลักของชาวนครสวรรค์เป็นข้าวเจ้าเหมือนชาวภาคกลางทั่วไป การรับประทานอาหารนิยมนั่งล้อมเป็นวงกับพื้นบ้านใกล้ครัว มีสำรับกับข้าววางบนถาดสังกะสีเคลือบ ใช้จานสังกะสีใช้มือเปิบข้าว มีช้อนสำหรับตักแกง มีถ้วยหรือจานใส่น้ำเปล่าวางข้าง ๆ สำหรับล้างมือ ส่วนชาวไทยเชื้อสายจีนซึ่งมีอาชีพค้าขายอาศัยอยู่ตึกแถวในเมืองจะนั่งรับประทานอาหารล้อมเป็นวงบนโต๊ะกลมที่เรียกว่า “ชึ้ง” นิยมใช้ตะเกียบ116
ปัจจุบันสภาพบ้านเรือนเปลี่ยนไปวัฒนธรรมด้านการกินอยู่จึงนิยมแบบตะวันตก เช่น นั่งโต๊ะใช้ช้อนหรือช้อนส้อม ถ้วยชามกระเบื้อง การนั่งกับพื้นล้อมวงรับประทานอาหารยังคงมีอยู่บ้างในกลุ่มชาวบ้าน

 64

อาหารประจำวันของชาวบ้านจังหวัดนครสวรรค์
เป็นข้าวเจ้ารับประทานกับปลาร้า ปูดองน้ำเกลือ แกงพริกเกลือหรือแกงปาร้าสับ แกงส้มปลาช่อน แกงบอน แกงขี้เหล็ก แกงป่าขี้เหล็ก แกงนอกหม้อ แกงหยวก ยำหัวปลี
ในฤดูน้ำหลากปลาจะวางไข่ ปลายเดือนสิบ เดือนสิบเอ็ด เดือนสิบสอง น้ำจะเริ่มลดชาวบ้านจะทอดแหตามหนองน้ำได้ปลาดุก ปลาช่อนจำนวนมาก ก็จะนำมาเคล้าเกลือตากแห้ง เรียกว่า “ปลาเกลือ” ไว้สำหรับทอด หรือต้มกะทิปลาเกลือกับใบมะขามอ่อน ถ้าได้ปลาสร้อยปลาซิวจะนำมาหมักเกลือต้มเป็นน้ำปลา สำหรับปลาฉลาด ปลากราย นำมาขูดแล้วปั้นเป็นลูกชิ้นปลากราย หรือผสมเครื่องแกง ปั้นเป็นแผ่นทอด เรียกว่า “ปลาเห็ด” ปัจจุบันเรียกว่า “ปลาทอดมัน”117
ผลไม้ของจังหวัดนครสวรรค์ คือ ละมุด ขนุน มะปราง กล้วยหอม กล้วยน้ำว้า กล้วยไข่ น้อยหน่า มะม่วง มะขาม มะยม มะละกอ ฝรั่ง
ผลไม้ท้องถิ่นที่ขึ้นชื่อของตำบลบางมะฝ่อ อำเภอโกรกพระ คือ ละมุดกรอบ ขนุน มะปราง118 ส่วนที่ตำบลเกยไชย อำเภอชุมแสง นิยมปลูกต้นตาลจึงมีเชื่อเสียงในการทำน้ำตาลปึก น้ำตาลสด น้ำตาลเมา ตาลอ่อน ลอนตาลเชื่อม จาวตาลเชื่อม119


อาหารประจำวันของชุมชนกลุ่มน้อยบางพื้นที่
เช่น ชาวไทยเชื้อสายพวน ในอำเภอตาคลี ชาวไทยเชื้อสายพวนและไทยทรงดำ (ลาวโซ่ง) ในอำเภอท่าตะโก และชาวอีสานที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานในอำเภอลาดยาว นิยมรับประทานข้าวเหนียวกับปลาแดก (ปลาร้า) ปลาแคร่ ลาบ ลู่ ต้มแซบใส่ขี้เพี้ยหรือไส้อ่อนวัว120


อาหารประจำวันของชุมชนเชื้อสายจีน
นิยมรับประทานอาหารที่มีรสจืด เช่น แกงจืดเต้ากัวคือแกงจืดเต้าหู้อ่อน แกงจืดวุ้นเส้น ผัดคะน้า ผัดผักบุ้งจีน ขนมบัวเกี้ย เต้าทึง เช็งทึง121

อาหารเฉพาะเทศกาลวันสำคัญทางศาสนา
ส่วนใหญ่จะทำขนมจีนน้ำยา ในเทศกาลวันตรุษสารท จะกวนข้าวเหนียวแดง ขนมกวน กระยาสารทซึ่งนิยมรับประทานกับกล้วยไข่ ข้าวต้มมัด ข้าวต้มลูกโยน ขนมต้มญวน ขนมเปี๊ยะ สำหรับงานพิธีอันเป็นมงคล เช่น งานแต่งงานขนมที่นิยมใช้เป็นขนมขันหมาก คือ ขนมกง ขนมเปี๊ยะ ในเทศกาลตรุษสงกรานต์ที่ตำบลบางมะฝ่อ อำเภอโกรกพระ จะมี “ข้าวแช่”
ฤดูหนาวชาวบ้านจะเผาข้าวหลาม เพราะช่วงฤดูหนาวมีข้าวเหนียวใหม่และกระบอกไม้ไผ่แทงหน่อตั้งแต่เมื่อเริ่มฤดูฝนจะมีขนาดพอเหมาะและมีความหอมจึงนำมาเผาข้าวหลามซึ่งจะทำให้ข้าวหลามมีกลิ่นหอมรสหวาน บางแห่งจะทำ “หน้ากระฉีก” คือมะพร้าวขูดผัดน้ำตาลปีบจิ้มกับข้าวหลาม122

ปัจจุบันอาหารต่าง ๆ ได้แปรเปลี่ยนไปตามสภาพความเป็นอยู่ มีการพัฒนารูปแบบไปตามความนิยมของสังคม นิยมซื้ออาหารรับประทานมากกว่าการปรุงอาหารเองสำหรับชุมชนในท้องถิ่นยังคงปรุงอาหารรับประทานเอง

13 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 262 คน กำลังออนไลน์