• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:201f1d49119b89c95f391e82149b870a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff99cc\"><strong><u></u></strong></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"512\" src=\"/files/u19135/9.jpg\" height=\"134\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\"><strong><u>เรื่องที่ 8 ประโยค </u></strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #33cc99\"><strong>1.เจตนาประโยค   </strong>มี 3 อย่าง = แจ้งให้ทราบ(บอกเล่า) ถามให้ตอบ(คำถาม) บอกให้ทำ(ให้ทำ)<br />\n<strong>2.โครงสร้างของประโยค</strong> หมายถึง ส่วนประกอบของประโยค คือ  ประธาน  กริยา  กรรม  ส่วนขยาย<br />\n   เช่น พ่อฉันกันข้างเก่งมาก (ประธาน ขยาย(พ่อ) กริยา กรรม ขยาย(กิน) ขยาย(เก่ง)) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cc99\">การเน้นส่วนของประโยค ถ้าเราต้องการเน้นตรงไหน จะเอาส่วนนั้นมาขึ้นต้นประโยค <br />\n     เช่น  กระเป๋าใบนี้ฉันถักเอง (เอากรรมขึ้นประโยค ประธานคือ ฉัน)<br />\n            ที่โรงอาหารรุ่นพี่ทะเลาะกับรุ่นน้อง(เน้นสถานที่) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cc99\"><strong>3.ชนิดของประโยค</strong> มี 3 ชนิด<br />\nประโยคความเดียว : มีประธาน กริยา กรรม อย่างละตัว<br />\nประโยคความซ้อน : มี 2 ประโยคมารวมกัน ใช้คำเชื่อว่า ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cc99\"></span><span style=\"color: #33cc99\">ประโยคความรวม : มี 2 ประโยคมารวมกันด้วยคำเชื่อคำไดก็ได้ ยกเว้น ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้ (ถ้าใช้ ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้ เชื่อม <br />\n                       จะเป็นประโยคความซ้อนนะ)<br />\n                        เช่น เขาทำการบ้านก่อนนอน (ละ เขานอน) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cc99\"><strong>4.จำนวนประโยค</strong><br />\n        ปกติจบ 1 ประโยค = นับเป็น 1 ประโยค<br />\nถ้ามีคำเชื่อมเราคือว่าประโยคนั้นยังเป็นประโยคเดียวกับข้างหน้า<br />\nเช่นเขากินข้าวแล้ว 1 เขากินข้าแล้ว ตอนนี้เขาเข้านอนแล้ว 2 เขากินข้าวก่อนจะเข้านอน 1 ตะวันบอกละเวงว่าจะไปเมืองนอก ละเวงเลยร้องไห้ 1</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cc99\"><strong>5.วลี</strong> คือ กลุ่มคำที่ไม่ใช่ประโยค บางทีก้อยาวจนเกือบจะเป็นประโยค แต่ก้อไม่ใช่ประโยค<br />\n วิธีดูว่าจะเป็นวลี(ในหนังสือบอกว่าเป็น ประโยคไม่สมบูรณ์)หรือประโยค ลองอ่าน ๆ ไป ถ้าอ่านแล้วเหมือนจะไม่จบ (ประมาณว่ารู้สึกต้องมีอะไรต่อนะ) แสดงว่าเป็นวลี แต่ถ้าอ่านแล้วรู้สึกว่ามันจบก็คือประโยค   เช่น<br />\n        แม้นเราจะอ่านหนังสือสอบมากขนานไหน = วลี (เวลาอ่านรู้สึกว่ามันต้องมีต่อ sure)<br />\n        เธอวิ่งซะจน = วลี (ซะจน - - อะไรเหรอ อยากรู้จัง -- แสดงว่าต้องมีอะไรต่อนะ)<br />\n        เธอกลับบ้านไปแล้ว = ประโยค(ก็มันจบนี่)</span>\n</p>\n', created = 1715447153, expire = 1715533553, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:201f1d49119b89c95f391e82149b870a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภาษาไทยเพื่อการเรียนรู้

เรื่องที่ 8 ประโยค


1.เจตนาประโยค   มี 3 อย่าง = แจ้งให้ทราบ(บอกเล่า) ถามให้ตอบ(คำถาม) บอกให้ทำ(ให้ทำ)
2.โครงสร้างของประโยค หมายถึง ส่วนประกอบของประโยค คือ  ประธาน  กริยา  กรรม  ส่วนขยาย
   เช่น พ่อฉันกันข้างเก่งมาก (ประธาน ขยาย(พ่อ) กริยา กรรม ขยาย(กิน) ขยาย(เก่ง))

การเน้นส่วนของประโยค ถ้าเราต้องการเน้นตรงไหน จะเอาส่วนนั้นมาขึ้นต้นประโยค
     เช่น  กระเป๋าใบนี้ฉันถักเอง (เอากรรมขึ้นประโยค ประธานคือ ฉัน)
            ที่โรงอาหารรุ่นพี่ทะเลาะกับรุ่นน้อง(เน้นสถานที่)

3.ชนิดของประโยค มี 3 ชนิด
ประโยคความเดียว : มีประธาน กริยา กรรม อย่างละตัว
ประโยคความซ้อน : มี 2 ประโยคมารวมกัน ใช้คำเชื่อว่า ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้

ประโยคความรวม : มี 2 ประโยคมารวมกันด้วยคำเชื่อคำไดก็ได้ ยกเว้น ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้ (ถ้าใช้ ที่ ซึ่ง อัน ว่า ให้ เชื่อม
                       จะเป็นประโยคความซ้อนนะ)
                        เช่น เขาทำการบ้านก่อนนอน (ละ เขานอน)

4.จำนวนประโยค
        ปกติจบ 1 ประโยค = นับเป็น 1 ประโยค
ถ้ามีคำเชื่อมเราคือว่าประโยคนั้นยังเป็นประโยคเดียวกับข้างหน้า
เช่นเขากินข้าวแล้ว 1 เขากินข้าแล้ว ตอนนี้เขาเข้านอนแล้ว 2 เขากินข้าวก่อนจะเข้านอน 1 ตะวันบอกละเวงว่าจะไปเมืองนอก ละเวงเลยร้องไห้ 1

5.วลี คือ กลุ่มคำที่ไม่ใช่ประโยค บางทีก้อยาวจนเกือบจะเป็นประโยค แต่ก้อไม่ใช่ประโยค
 วิธีดูว่าจะเป็นวลี(ในหนังสือบอกว่าเป็น ประโยคไม่สมบูรณ์)หรือประโยค ลองอ่าน ๆ ไป ถ้าอ่านแล้วเหมือนจะไม่จบ (ประมาณว่ารู้สึกต้องมีอะไรต่อนะ) แสดงว่าเป็นวลี แต่ถ้าอ่านแล้วรู้สึกว่ามันจบก็คือประโยค   เช่น
        แม้นเราจะอ่านหนังสือสอบมากขนานไหน = วลี (เวลาอ่านรู้สึกว่ามันต้องมีต่อ sure)
        เธอวิ่งซะจน = วลี (ซะจน - - อะไรเหรอ อยากรู้จัง -- แสดงว่าต้องมีอะไรต่อนะ)
        เธอกลับบ้านไปแล้ว = ประโยค(ก็มันจบนี่)

สร้างโดย: 
น.ส. ธัญวรรณ ศิรินพวงศากร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 292 คน กำลังออนไลน์