• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.140.238.141', 0, 'f7962b0957389d231d05bd366913493f', 119, 1716229070) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:40c0adf3e713d9a4577b2f55b75a58b5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n              ศัพท์คำว่า &quot;<span style=\"color: #ff0000\">สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา</span>&quot; หรือ &quot;Bermuda Triangle&quot; นี้ มีที่มาจากบทความนิตยสารอาร์กอสซี่ เจ้าของบทความชื่อ Vincent H. Gaddis ได้นำเสนอเรื่องราวของเรือและเครื่องบินที่สาบสูญไปอย่างลึกลับโดยปราศจากคำอธิบายในนิตยสารดังกล่าว เมื่อปี ค.ศ. 1964 แต่ แกดดิส ไม่ได้เป็นคนแรกที่สังเกตเรื่องนี้ ก่อนหน้าในปี ค.ศ. 1952 นาย George X. Sands เสนอเรื่องทำนองนี้เช่นกันในนิตยสาร Fate เนื้อหากล่าวถึงปริมาณของเรือและเครื่องบินที่สาบสูญไปอย่างผิดปกติในบริเวณน่านน้ำดังกล่าว ซึ่งยอดสูญหายนี้มันมากเกินไปกว่าที่จะสันนิษฐานว่าเป็นอุบัติเหตุ<br />\n        \n</p>\n<p>\n          ต่อมาถัดมาในปี ค.ศ. 1969 นายวอลเลซ สเปนเซอร์ ได้เขียนหนังสือว่าด้วยสามเหลี่ยมปริศนานี้โดยเฉพาะออกจำหน่ายในชื่อว่า <span style=\"color: #ff99cc\">&quot;Limbo of the Lost</span>&quot; ถัดจากนั้นก็มีหนังสือออกจำหน่ายตามมาอีกมากมายเกี่ยวกับความลึกลับของสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา  ซึ่งก็มียอดจำหน่ายดีแทบทุกเล่ม   ที่มีชื่อเสียงเป็นพิเศษคือบทความที่มีชื่อว่า <span style=\"color: #33cccc\">&quot;The Devil\'s Triangle&quot;</span> ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1974 ซึ่งเนื้อหาสำหรับเป็นที่ชื่นชอบความลึกลับเกี่ยวกับสามเหลี่ยเบอร์มิวดาเป็นอันมาก เป็นที่น่าสังเกตคือ หนังสือแทบทุกเล่มมุ่งประเด็นไปยังมุมมองที่ว่า เบื้องหลังของการสูญหายนี้ มาจากเทคโนโลยีของสิ่งทรงภูมิปัญญามากกว่าประเด็นอื่น   เช่น   มาจากมนุษย์ต่างดาว หรือมนุษย์ที่อาศัยอยู่ใต้มหาสมุทรบริเวณนั้น ต่างก็หาหลักฐานและทฤษฎีมาถกเถียงกันและบริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดามีอาณาบริเวณที่กว้างมากจาก ฟลอริด้า-เปอร์โต ริโก-เกาะเบอร์มิวดา กินพื้นที่ประมาณ ห้าแสนตารางไมล์     เพราะฉะนั้นการจะค้นหาอะไรๆจากสามเหลี่ยมเบอร์มิวดาจึงไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ก็มีองค์กรของรัฐ เอกชน ต่างให้ความสนใจในการสำรวจ โดยหวังว่าจะเจอหลักฐานอะไรก็ตามที่นำมาใช้ไขปริศนาของดินแดนบริเวณนี้ได้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/43257\">Back Home</a>                                                                                                            <a href=\"/node/48145\"> Next Page</a>\n</p>\n', created = 1716229090, expire = 1716315490, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:40c0adf3e713d9a4577b2f55b75a58b5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ที่มาของคำว่า"สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้า"

              ศัพท์คำว่า "สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา" หรือ "Bermuda Triangle" นี้ มีที่มาจากบทความนิตยสารอาร์กอสซี่ เจ้าของบทความชื่อ Vincent H. Gaddis ได้นำเสนอเรื่องราวของเรือและเครื่องบินที่สาบสูญไปอย่างลึกลับโดยปราศจากคำอธิบายในนิตยสารดังกล่าว เมื่อปี ค.ศ. 1964 แต่ แกดดิส ไม่ได้เป็นคนแรกที่สังเกตเรื่องนี้ ก่อนหน้าในปี ค.ศ. 1952 นาย George X. Sands เสนอเรื่องทำนองนี้เช่นกันในนิตยสาร Fate เนื้อหากล่าวถึงปริมาณของเรือและเครื่องบินที่สาบสูญไปอย่างผิดปกติในบริเวณน่านน้ำดังกล่าว ซึ่งยอดสูญหายนี้มันมากเกินไปกว่าที่จะสันนิษฐานว่าเป็นอุบัติเหตุ
        

          ต่อมาถัดมาในปี ค.ศ. 1969 นายวอลเลซ สเปนเซอร์ ได้เขียนหนังสือว่าด้วยสามเหลี่ยมปริศนานี้โดยเฉพาะออกจำหน่ายในชื่อว่า "Limbo of the Lost" ถัดจากนั้นก็มีหนังสือออกจำหน่ายตามมาอีกมากมายเกี่ยวกับความลึกลับของสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา  ซึ่งก็มียอดจำหน่ายดีแทบทุกเล่ม   ที่มีชื่อเสียงเป็นพิเศษคือบทความที่มีชื่อว่า "The Devil's Triangle" ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1974 ซึ่งเนื้อหาสำหรับเป็นที่ชื่นชอบความลึกลับเกี่ยวกับสามเหลี่ยเบอร์มิวดาเป็นอันมาก เป็นที่น่าสังเกตคือ หนังสือแทบทุกเล่มมุ่งประเด็นไปยังมุมมองที่ว่า เบื้องหลังของการสูญหายนี้ มาจากเทคโนโลยีของสิ่งทรงภูมิปัญญามากกว่าประเด็นอื่น   เช่น   มาจากมนุษย์ต่างดาว หรือมนุษย์ที่อาศัยอยู่ใต้มหาสมุทรบริเวณนั้น ต่างก็หาหลักฐานและทฤษฎีมาถกเถียงกันและบริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดามีอาณาบริเวณที่กว้างมากจาก ฟลอริด้า-เปอร์โต ริโก-เกาะเบอร์มิวดา กินพื้นที่ประมาณ ห้าแสนตารางไมล์     เพราะฉะนั้นการจะค้นหาอะไรๆจากสามเหลี่ยมเบอร์มิวดาจึงไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ก็มีองค์กรของรัฐ เอกชน ต่างให้ความสนใจในการสำรวจ โดยหวังว่าจะเจอหลักฐานอะไรก็ตามที่นำมาใช้ไขปริศนาของดินแดนบริเวณนี้ได้

 

 

Back Home                                                                                                             Next Page

สร้างโดย: 
ฐิติพร แซ่เล็ก

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 272 คน กำลังออนไลน์