• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1d89c9bb28084387c743ecce762cab68' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n <strong>คำอุทาน</strong> คือ คำที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้พูด มักจะเป็นคำที่ไม่มีความหมาย แต่เน้นความรู้สึก และอารมณ์ของผู้พูด\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>   เสียงที่เปล่งออกมาเป็นคำอุทานนี้ แบ่งเป็น 3 ลักษณะ</strong>\n</p>\n<p>\nเป็นคำ เช่น โอ๊ย ว้าย แหม โถ เป็นต้น <br />\nเป็นวลี เช่น พุทโธ่เอ๋ย คุณพระช่วย ตายละว้า เป็นต้น <br />\nเป็นประโยค เช่น ไฟไหมเจ้าข้า ป้าถูกรถชน เป็นต้น\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>        คำอุทานแบ่งออกเป็น 2 ชนิด</strong> คือ\n</p>\n<p>\n         1. <strong>อุทานบอกอาการ</strong> ใช้เปล่งเสียงเพื่อบอกอาการและความรู้สึกต่าง ๆ ของผู้พูด อุทานบอกอาการ อาจจะอุทานแสดงความเข้าใจ ตกใจ โกรท เจ็บ ตื่นเต้น สงสัย เช่น อ๋อ วุ้ย ต๊ายตาย ไฮ้ เช่น อุ๊ย เจ็บจริง\n</p>\n<p>\n        คำอุทานบอกอาการนี้ รวมทั้งที่แทรกอยู่ในคำประพันธ์ต่าง ๆ โดยมากก็เป็นคำสร้อย เช่น เฮย แฮ เอย นอ ร้องเรียก หรือบอกเพื่อให้รู้สึกตัว เช่น แน่น เฮ้ โว้ย เป็นต้น ตัวอย่างของอุทานบอกอาการ\n</p>\n<p>\nโกรธเคือง เช่น ชิชะ ดูดู๋ เป็นต้น <br />\nตกใจ เช่น ตายจริง ว้าย เป็นต้น <br />\nสงสาร เช่น อนิจจา โถ เป็นต้น <br />\nโล่งใจ เช่น เฮ้อ เฮอ เป็นต้น <br />\nขุ่นเคือง เช่น อุวะ แล้วกัน เป็นต้น <br />\nทักท้วง เช่น ฮ้า ไฮ้ เป็นต้น <br />\nเยาะเย้ย เช่น หนอย ชะ เป็นต้น <br />\nประหม่า เช่น เอ้อ อ้า เป็นต้น <br />\nชักชวน เช่น นะ น่า เป็นต้น\n</p>\n<p>\n<br />\n         2. <strong>อุทานเสริมบท</strong> คือ คำพูดเสริมขึ้นมาโดยไม่มีความหมาย อาจอยู่หน้าคำ หลังคำหรือแทรกกลางคำ เพื่อเน้นความหมาย ของคำที่จะพูดให้ชัดเจนขึ้น เป็นคำที่เพิ่มเข้ามาโดยไม่ได้ตั้งใจให้ความเพิ่มมาแต่อย่างใด\n</p>\n<p>\n         เช่น แขนแมน เสื่อสาด โต๊ะเต๊อะ จานเจิน ไม่รู้ไม่ชี้ พระสงฆ์องค์เจ้า โรงร่ำโรงเรียน ร้องห่มร้องไห้ เป็นต้น\n</p>\n<p>\nตัวอย่างของอุทานเสริมบท เช่น\n</p>\n<p>\nอาบน้ำอาบท่า ลืมหูลืมตา กินน้ำกินท่า <br />\nถ้าเนื้อความมีความหมายในทางเดียวกัน เช่น ไม่ดูไม่แล ร้องรำทำเพลง เราเรียกคำเหล่านี้ว่า คำซ้อน\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44455/edit\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19245/esah.gif\" height=\"28\" width=\"50\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"http://img524.imageshack.us/img524/2476/9line03dh7.jpg\" height=\"25\" width=\"250\" />\n</p>\n', created = 1715674802, expire = 1715761202, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1d89c9bb28084387c743ecce762cab68' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คำอุทาน

 คำอุทาน คือ คำที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้พูด มักจะเป็นคำที่ไม่มีความหมาย แต่เน้นความรู้สึก และอารมณ์ของผู้พูด


   เสียงที่เปล่งออกมาเป็นคำอุทานนี้ แบ่งเป็น 3 ลักษณะ

เป็นคำ เช่น โอ๊ย ว้าย แหม โถ เป็นต้น
เป็นวลี เช่น พุทโธ่เอ๋ย คุณพระช่วย ตายละว้า เป็นต้น
เป็นประโยค เช่น ไฟไหมเจ้าข้า ป้าถูกรถชน เป็นต้น


        คำอุทานแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

         1. อุทานบอกอาการ ใช้เปล่งเสียงเพื่อบอกอาการและความรู้สึกต่าง ๆ ของผู้พูด อุทานบอกอาการ อาจจะอุทานแสดงความเข้าใจ ตกใจ โกรท เจ็บ ตื่นเต้น สงสัย เช่น อ๋อ วุ้ย ต๊ายตาย ไฮ้ เช่น อุ๊ย เจ็บจริง

        คำอุทานบอกอาการนี้ รวมทั้งที่แทรกอยู่ในคำประพันธ์ต่าง ๆ โดยมากก็เป็นคำสร้อย เช่น เฮย แฮ เอย นอ ร้องเรียก หรือบอกเพื่อให้รู้สึกตัว เช่น แน่น เฮ้ โว้ย เป็นต้น ตัวอย่างของอุทานบอกอาการ

โกรธเคือง เช่น ชิชะ ดูดู๋ เป็นต้น
ตกใจ เช่น ตายจริง ว้าย เป็นต้น
สงสาร เช่น อนิจจา โถ เป็นต้น
โล่งใจ เช่น เฮ้อ เฮอ เป็นต้น
ขุ่นเคือง เช่น อุวะ แล้วกัน เป็นต้น
ทักท้วง เช่น ฮ้า ไฮ้ เป็นต้น
เยาะเย้ย เช่น หนอย ชะ เป็นต้น
ประหม่า เช่น เอ้อ อ้า เป็นต้น
ชักชวน เช่น นะ น่า เป็นต้น


         2. อุทานเสริมบท คือ คำพูดเสริมขึ้นมาโดยไม่มีความหมาย อาจอยู่หน้าคำ หลังคำหรือแทรกกลางคำ เพื่อเน้นความหมาย ของคำที่จะพูดให้ชัดเจนขึ้น เป็นคำที่เพิ่มเข้ามาโดยไม่ได้ตั้งใจให้ความเพิ่มมาแต่อย่างใด

         เช่น แขนแมน เสื่อสาด โต๊ะเต๊อะ จานเจิน ไม่รู้ไม่ชี้ พระสงฆ์องค์เจ้า โรงร่ำโรงเรียน ร้องห่มร้องไห้ เป็นต้น

ตัวอย่างของอุทานเสริมบท เช่น

อาบน้ำอาบท่า ลืมหูลืมตา กินน้ำกินท่า
ถ้าเนื้อความมีความหมายในทางเดียวกัน เช่น ไม่ดูไม่แล ร้องรำทำเพลง เราเรียกคำเหล่านี้ว่า คำซ้อน

สร้างโดย: 
นางสาวอมรรัตน์ บุนนาค และคุณครูศรีสวาสดิ์ บุนนาค โรงเรียนสตีศรีสุริโยทัย กทม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 466 คน กำลังออนไลน์