• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f3847ee0975857140652b1c3959d691e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>เนบิวลา (Nebula)</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"180\" src=\"/files/u19930/figure_2020-17a_resize.jpg\" height=\"224\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มาของรูป donphutwitthaya.com/cai/Iastronomy1/stars.html\n</p>\n<p>\n             เนบิวลา หรือ หมอกเพลิง คือ กลุ่มแก๊สและฝุ่นที่รวมตัวกันเป็นแหล่งกำเนิดของดาวฤกษ์ หรือกลุ่มแก๊สที่เกิดจากการระเบิดชองดาวฤกษ์ เราแบ่งเนบิวลาตามความสว่างออกเป็น 2 ชนิด คือ\n</p>\n<p>\n1. เนบิวลาสว่าง (Emission Nebula) เป็นกลุ่มเมฆแก๊สไฮโดรเจนที่ประกอบด้วยดาวฤกษ์ร้อนมากอยู่ภายใน จึงทำให้แก๊สต่างๆ ที่อยู่ภายในลุกสว่างขึ้น\n</p>\n<p>\n2. เนบิวลามืด ( Dark Nebula) เป็นกลุ่มเมฆฝุ่นและแก๊สไฮโดรเจน แต่ไม่มีดาวฤกษ์ร้อนที่ทำให้มันลุกสว่างได้ ซึ่งกลุ่มเมฆเหล่านั้นบดบังแสงสว่างจากดาวฤกษ์ที่อยู่เบื้องหลัง ทำให้ปรากฏเป็นเงามืดในท้องฟ้า\n</p>\n<p>\nเนบิวลาที่ควรรู้จัก มีดังนี้\n</p>\n<p>\n          เนบิวลาสว่างใหญ่ (The great nebula in orion, M42 หรือ NGC 1976) เป็นกลุ่มแก๊สและฝุ่นที่เป็นแหล่งกำเนิดของดาวฤกษ์อยู่ไกลออกไป 1,500 ปีแสงในทิศทางของกลุ่มดาวนายพรานหรือกลุ่มดาวเต่าของไทย มีกระจุกดาวฤกษ์ 4 ดวง อุณหภูมิสูงมาก ซึ่งแผ่รังสีอัลตราไวโอเลตไปกระตุ้นให้แก๊สและฝุ่นเรืองแสงและสว่างขึ้น<br />\n          เนบิวลามืดหัวม้า (The horsehead nebula) เป็นกลุ่มแก๊สและฝุ่นที่รวมตัวกันหนาทึบภายใต้แรงโน้มถ่วงสูงจนบดบังแสงดาวฤกษ์ที่อยู่เบื้องหลังจึงมองเห็นเป็นบริเวณมืดตั้งอยู่ในทิศทางของกลุ่มดาวนายพรานเนบิวลามืดเป็นระยะแรกเริ่มของกลุ่มก้อนแก๊สและฝุ่นที่อาจจะเกิดเป็นดาวฤกษ์<br />\n          เนบิวลาปู เป็นกลุ่มแก๊สส่วนที่เป็นซากเหลือจากการระเบิดของดาวฤกษ์ อยู่ห่างออกไป 6,300 ปีแสง ในทิศทางของกลุ่มดาววัว มีคลื่นวิทยุและรังสีเอ็กซ์แผ่รังสีออกมาเป็นคาบจังหวะ เกิดจากพัลซาร์หรือดาวนิวตรอนที่อยู่ภายใน ซึ่งเป็นซากดาวส่วนที่เป็นของแข็งที่เหลืออยู่ในใจกลาง โดยมีการหมุนรอบตัวเอง 30 รอบใน 1 วินาที\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/43260\">กลับหน้าแรก</a>                                                                                                                                  <a href=\"/node/48075\">หน้าต่อไป</a>\n</p>\n', created = 1729564818, expire = 1729651218, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f3847ee0975857140652b1c3959d691e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เนบิวลา

เนบิวลา (Nebula)

ที่มาของรูป donphutwitthaya.com/cai/Iastronomy1/stars.html

             เนบิวลา หรือ หมอกเพลิง คือ กลุ่มแก๊สและฝุ่นที่รวมตัวกันเป็นแหล่งกำเนิดของดาวฤกษ์ หรือกลุ่มแก๊สที่เกิดจากการระเบิดชองดาวฤกษ์ เราแบ่งเนบิวลาตามความสว่างออกเป็น 2 ชนิด คือ

1. เนบิวลาสว่าง (Emission Nebula) เป็นกลุ่มเมฆแก๊สไฮโดรเจนที่ประกอบด้วยดาวฤกษ์ร้อนมากอยู่ภายใน จึงทำให้แก๊สต่างๆ ที่อยู่ภายในลุกสว่างขึ้น

2. เนบิวลามืด ( Dark Nebula) เป็นกลุ่มเมฆฝุ่นและแก๊สไฮโดรเจน แต่ไม่มีดาวฤกษ์ร้อนที่ทำให้มันลุกสว่างได้ ซึ่งกลุ่มเมฆเหล่านั้นบดบังแสงสว่างจากดาวฤกษ์ที่อยู่เบื้องหลัง ทำให้ปรากฏเป็นเงามืดในท้องฟ้า

เนบิวลาที่ควรรู้จัก มีดังนี้

          เนบิวลาสว่างใหญ่ (The great nebula in orion, M42 หรือ NGC 1976) เป็นกลุ่มแก๊สและฝุ่นที่เป็นแหล่งกำเนิดของดาวฤกษ์อยู่ไกลออกไป 1,500 ปีแสงในทิศทางของกลุ่มดาวนายพรานหรือกลุ่มดาวเต่าของไทย มีกระจุกดาวฤกษ์ 4 ดวง อุณหภูมิสูงมาก ซึ่งแผ่รังสีอัลตราไวโอเลตไปกระตุ้นให้แก๊สและฝุ่นเรืองแสงและสว่างขึ้น
          เนบิวลามืดหัวม้า (The horsehead nebula) เป็นกลุ่มแก๊สและฝุ่นที่รวมตัวกันหนาทึบภายใต้แรงโน้มถ่วงสูงจนบดบังแสงดาวฤกษ์ที่อยู่เบื้องหลังจึงมองเห็นเป็นบริเวณมืดตั้งอยู่ในทิศทางของกลุ่มดาวนายพรานเนบิวลามืดเป็นระยะแรกเริ่มของกลุ่มก้อนแก๊สและฝุ่นที่อาจจะเกิดเป็นดาวฤกษ์
          เนบิวลาปู เป็นกลุ่มแก๊สส่วนที่เป็นซากเหลือจากการระเบิดของดาวฤกษ์ อยู่ห่างออกไป 6,300 ปีแสง ในทิศทางของกลุ่มดาววัว มีคลื่นวิทยุและรังสีเอ็กซ์แผ่รังสีออกมาเป็นคาบจังหวะ เกิดจากพัลซาร์หรือดาวนิวตรอนที่อยู่ภายใน ซึ่งเป็นซากดาวส่วนที่เป็นของแข็งที่เหลืออยู่ในใจกลาง โดยมีการหมุนรอบตัวเอง 30 รอบใน 1 วินาที

กลับหน้าแรก                                                                                                                                  หน้าต่อไป

สร้างโดย: 
นส.สุดารัตน์ ธัญรัตนมงคล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 387 คน กำลังออนไลน์