• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4e35459fb1b25fe4a0f4cb6078458d25' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #008000\"><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-embarassed.gif\" alt=\"Embarassed\" title=\"Embarassed\" />สวัสดี<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-embarassed.gif\" alt=\"Embarassed\" title=\"Embarassed\" /><br />\nวันนี้เรามาทำความรู้จักเกี่ยวกับ เช็ค กันเถอะ</span></strong></span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/W52/sport52/3/3.htm\"></a>\n</div>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">ความรู้เกี่ยวกับเช็ค</span></span></span></span></span></b><b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\"><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" title=\"Laughing\" /></span></span></span></span></span></b>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span></span></span></b></p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"586\" src=\"/files/u15459/042.gif\" height=\"76\" /><br />\nเช็ค คืออะไร <br />\n          ตามประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา ลักษณะ 21 หมวด 4 เช็ค มาตร 987 ได้ให้คำจำกัดความของเช็คไว้ว่า<br />\n          เช็ค คือหนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่าผู้สั่งจ่าย สั่งธนาคารให้ใช้เงินจำนวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือให้ใช้ตามคำสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่ง อันเรียกว่าผู้รับเงิน “\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">เช็คในประเทศไทย มีกฎหมายควบคุมอยู่ 2 ฉบับ</span> คือ<br />\n     1. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา ลักษณะ 21 ว่าด้วยเรื่องตั๋วเงิน หมวด 4 เช็ค <br />\n     2. พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจาการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 <br />\n          ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จะควบคุมในเรื่องเงื่อนไขและวิธีการออกเช็คให้ถูกต้องตามกฎหมาย เรื่องความสมบูรณ์ของเช็ค เรียกว่าเป็นเรื่องทางแพ่ง<br />\n          พระราชบัญญัติความผิดอันเกิดจาการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 จะควบคุมให้มีการออกเช็ค โดยสุจริต ถ้ามีการออกเช็คโดยทุจริตก็จะต้องรับโทษทางอาญาและได้กำหนดโทษไว้ชัดเจนด้วย </span></span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">การใช้เช็ค <br />\n</span>          ผู้ที่ประสงค์จะมีเช็คไว้ใช้ในการสั่งให้ธนาคารจ่ายเงิน ( ถอนเงิน )  ต้องไปเปิดบัญชีเงินฝากกระแสรายวันกับธนาคาร  จึงจะใช้เช็คได้ <br />\n          ธนาคารต่าง ๆ จะพิถีพิถันในการรับเปิดบัญชีเงินฝากกระแสรายวันกับลูกค้าประเภทนี้มากกว่าประเภทอื่น โดยอาจมีการพิจารณาถึงประวัติของลูกค้าโดยเฉพาะประวัติการใช้เช็คของธนาคารอื่น ๆ ด้วย <br />\n         เมื่อเปิดบัญชีไว้กับธนาคารสำนักงานใด การจะเขียนเช็คสั่งจ่ายเงินออกจากบัญชีของตนก็ต้องใช้แบบฟอร์มเช็คที่ธนาคารสำนักงานนั้นมอบให้  ห้ามใช้เช็คแบบฟอร์มอื่นโดยไม่ได้ตกลงกับธนาคารเสียก่อน  ธนาคารจะคืนเช็คของท่านทันที<br />\n         <span style=\"color: #0000ff\"> เช็ค</span> ต้องมีรายการดังกล่าวต่อไปนี้ คือ<br />\n               (๑) คำบอกชื่อว่าเป็นเช็ค<br />\n               (๒) คำสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้ใช้เงินเป็นจำนวนแน่นอน<br />\n               (๓) ชื่อ หรือยี่ห้อ สำนักงานของธนาคาร<br />\n               (๔) ชื่อ หรือยี่ห้อของผู้รับเงิน หรือคำจดแจ้งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ<br />\n               (๕) สถานที่ใช้เงิน<br />\n               (๖) วันและสถานที่ออกเช็ค<br />\n               (๗) ลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย </span></span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></b>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"><strong>ที่มา : </strong></span></span></span></span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: small; color: #008000; font-family: Times New Roman\"></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">เช็คที่ธนาคารต่าง ๆ  ใช้มีอยู่ 2 แบบ</span> คือ<br />\n1. เช็คจ่ายผู้ถือ [BEARER CHEQUE] <br />\n2. เช็คจ่ายตามคำสั่ง [ORDER CHEQUE]<br />\n <br />\n<span style=\"color: #0000ff\">เช็คจ่ายผู้ถือ<br />\n</span>          เช็คจ่ายผู้ถือ หรือที่นิยมเรียกกันว่า “เช็คผู้ถือ” คือเช็คที่ทางธนาคารต่าง ๆ ออกแบบไว้เพื่อจุดประสงค์ให้ผู้สั่งจ่ายเช็คโดยระบุชื่อผู้รับเงินหรือจะไม่ระบุชื่อผู้รับเงินก็ได้<br />\n          ธนาคารในบ้านเราได้ออกแบบเช็คจ่ายผู้ถือ โดยมีสาระสำคัญอยู่ที่ช่องว่างที่ให้ผู้สั่งจ่ายเช็คกรอกเพื่อระบุผู้รับเงินดังนี้  “จ่าย…………………………………………………….หรือผู้ถือ[or bearer]&quot;<br />\n          เช็คแบบนี้ผู้สั่งจ่ายจะสั่งจ่ายโดยไม่กรอกอะไรลงในช่องว่าง “จ่าย…………………..หรือผู้ถือ “ เพียงแต่กรอก จำนวนเงินทั้งตัวเลขและตัวหนังสือแล้วลงลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย ก็ถือว่าเช็คสมบูรณ์  </span></span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"> หรือกรอกคำว่า “เงินสด” ลงในช่องว่าง “จ่าย………………………หรือผู้ถือ” ก็มีผลเช่นเดียวกัน </span></span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></b>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></b></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\nหรือกรอกชื่อ นามสกุล ผู้รับเงินลงไปในช่องว่าง “จ่าย……………………หรือผู้ถือ” โดยไม่ได้ขีดฆ่าคำว่า “หรือผู้ถือ” กรณีนี้หมายความว่า จ่ายให้กับผู้ที่ถูกระบุชื่อไว้ในเช็ค หรือ ผู้ถือก็ได้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          การสั่งจ่าย “เช็คจ่ายผู้ถือ” โดยไม่ได้ระบุชื่อผู้รับเงินในช่องว่าง “ จ่าย………………………หรือผู้ถือ “ และยังขีดฆ่าคำว่า ”หรือผู้ถือ “ ออก เช็คฉบับนี้จะกลายเป็นเช็ค “จ่ายตามคำสั่ง ” ทันที ถ้านำไปขึ้นเงินก็จะถูกปฏิเสธจากธนาคาร เพราะเป็นเช็คที่ไม่สมบูรณ์ตามกฎหมาย (ไม่มีชื่อผู้รับเงิน)<br />\n          หรือเขียนคำว่า “เงินสด” ลงในช่องว่าง “ จ่าย……………………..หรือผู้ถือ “ แล้วขีดฆ่าคำว่า “ หรือผู้ถือ “ ออก เช็คฉบับนี้ก็กลายเป็นเช็ค “ จ่ายตามคำสั่ง “ เช่นกัน แต่เป็นเช็คที่ไม่สมบูรณ์ตามกฏหมาย เพราะว่า คำว่า “เงินสด” ไม่ใช่ชื่อผู้รับเงิน\n</p>\n<p>\nการจ่ายเงินของธนาคาร <br />\n          ธนาคารจะจ่ายเงินสดให้แก่ใครก็ได้ที่เป็นผู้ถือ “เช็คจ่ายผู้ถือ “ มาขอขึ้นเงิน\n</p>\n<p>\nการโอนเปลี่ยนมือ <br />\n          เช็คจ่ายผู้ถือ สามารถโอนเปลี่ยนมือกันได้เพียงโดยการส่งมอบเช็คให้แก่กันก็เป็นอันใช้ได้ ดังนั้นใครก็ได้ที่เป็นผู้ถือเช็คแบบนี้ไปขึ้นเงินกับธนาคาร ธนาคารก็จะจ่ายเงินสดให้ทันทันที โดยมีกฎหมายรับรอง ตาม ป.พ.พ.มาตรา 989 วรรคแรกประกอบกับมาตรา 918 <br />\n          ป.พ.พ.มาตรา 989 วรรคแรกมีใจความว่า ”ให้ยกบทบัญญัติในหมวด 2 ว่าด้วยตั๋วแลกเงินมาบังคับในเรื่องเช็คเพียงเท่าที่ไม่ขัดกับสภาพแห่งตราสารชนิดนี้ คือมาตรา 910 , 914 ถึง 923……”<br />\n          ป.พ.พ.มาตรา 918 มีใจความว่า “ ตั๋วแลกเงินอันสั่งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือนั้น ท่านว่าย่อมโอนไปเพียงด้วยส่งมอบให้กัน “ <br />\n          การใช้เช็คแบบนี้จึงมีความเสี่ยงสูง ถ้าเกิดท่านทำเช็คสูญหายหรือเช็คถูกลักถูกขโมยก็จะป้องกันได้ยากมาก จึงควรใช้เช็คแบบนี้ได้เฉพาะในกรณี เมื่อไปเขียนเบิกเงินสดที่ธนาคารเอง หรือเมื่อสั่งจ่ายเงินไม่มากนัก\n</p>\n<p>\nการใช้เช็คผู้ถือให้ปลอดภัยต้องทำอย่างไร <br />\n          ถ้าจำเป็นจริง ๆ ก็มีวิธีเดียว คือให้ระบุชื่อ นามสกุลผู้รับเงินลงไปในช่องว่าง “จ่าย………………………..หรือผู้ถือ “ แล้วให้ขีดฆ่าคำว่า “หรือผู้ถือ” ออก ก็จะปลอดภัย แต่การขีดฆ่าคำว่า “หรือผู้ถือ” ออก เช็คฉบับนั้นก็จะกลายเป็น”เช็คจ่ายตามคำสั่ง”ทันที การนำเช็คไปขึ้นเงินกับธนาคาร หรือเมื่อต้องการโอนเปลี่ยนมือก็ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขของ”เช็คจ่ายตามคำสั่ง”\n</p>\n<p>\nเช็คจ่ายตามคำสั่ง<br />\nเช็คจ่ายตามคำสั่ง หมายถึง เช็คที่ต้องระบุชื่อผู้รับเงินไว้ในเช็คให้ถูกต้องครบถ้วน การนำเช็คจ่ายตามคำสั่งที่ยังไม่ระบุชื่อผู้รับเงินไปขอขึ้นเงินกับธนาคาร จะถูกปฏิเสธการจ่ายเงินจากธนาคารทันที เพราะเป็นเช็คที่มีรายการไม่สมบูรณ์ครบถ้วนตามกฏหมาย ข้อนี้ก็มีกฎหมายรับรองไว้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 988 <br />\n          ธนาคารต่าง ๆ ในเมืองไทย ได้ออกแบบเช็คจ่ายตามคำสั่ง โดยมีสาระสำคัญอยู่ที่ช่องว่างที่ให้ระบุชื่อผู้รับเงินโดยเขียน ชื่อ นามสกุล ลงในช่องว่าง “ จ่าย……………………………………………………หรือตามคำสั่ง[or order] “ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ แล้วขีดฆ่าคำว่า “หรือตามคำสั่ง “ ออก หากเขียนชื่อ นามสกุลไม่ถูกต้องเมื่อนำเช็คไปขอขึ้นเงินจะถูกปฏิเสธการจ่ายเงินจากธนาคาร\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          สั่งจ่ายเช็คโดยไม่ได้ระบุชื่อผู้รับเงินลงในช่องว่าง “ จ่าย……………………………หรือตามคำสั่ง “ โดยปล่อยว่างไว้เฉย ๆ อย่างนี้เป็นเช็คที่ไม่สมบูรณ์ตามกฎหมาย ธนาคารจะปฏิเสธการจ่ายเงิน<br />\n          สั่งจ่ายเช็คโดยระบุคำว่า “ เงินสด “ ลงในช่องว่าง “ จ่าย…………………………..หรือตามคำสั่ง “  ของเช็คจ่ายตามคำสั่ง ถือว่าเป็นเช็คที่ไม่สมบูรณ์ตามกฎหมาย เพราะคำว่า “เงินสด” ไม่ใช่ชื่อผู้รับเงิน <br />\n          สั่งจ่ายเช็คโดยระบุคำว่า “ เงินสด “ ลงในช่องว่าง “ จ่าย…………………………..หรือตามคำสั่ง “  ของเช็คจ่ายตามคำสั่ง แล้วขีดฆ่าคำว่า “ หรือตามคำสั่ง “ ออก ยังคงถือว่าเป็น “เช็คจ่ายตามคำสั่ง “ อยู่ แต่เป็นเช็คที่ไม่สมบูรณ์ตามกฏหมาย ที่ไม่สมบูรณ์ตามกฎหมาย เพราะคำว่า “เงินสด” ไม่ใช่ชื่อผู้รับเงิน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nการโอนเปลี่ยนมือเช็คจ่ายตามคำสั่ง <br />\n          การโอนเปลี่ยนมือเช็คจ่ายตามคำสั่ง ทำได้ด้วยการที่ผู้ทรงเช็คสลักหลังแล้วส่งมอบ ซึ่งมีกฎหมายรับรองไว้เหมือนกัน คือ ป.พ.พ. มาตรา 989 ประกอบมาตรา 917 ครับ<br />\n          มาตรา 989 มีใจความว่า ให้ยกบทบัญญัติในหมวด 2 ว่าด้วยตั๋วแลกเงินมาใช้บังคับในเรื่องเช็ค<br />\n          มาตรา 917 วรรคหนึ่ง  ว่าด้วยเรื่องการโอนตั๋วเงินที่นำมาใช้บังคับในเรื่องเช็คได้ มีใจความว่า “ อันตั๋วแลกเงินทุกฉบับ ถึงแม้ว่าจะมิใช่สั่งจ่ายให้แก่บุคคลเพื่อเขาสั่งก็ตาม ท่านว่าย่อมโอนให้กันได้ด้วยการสลักหลังและส่งมอบ “<br />\n          การสลักหลัง หมายถึง การเขียนข้อความพร้อมกับการลงลายมือชื่อ หรือลงลายมือชื่ออย่างเดียวที่ด้านหลังของเช็คเพื่อแสดงถึงการโอนเช็คนั้น\n</p>\n<p>\nการสลักหลัง มี 2 แบบ คือ\n</p>\n<p>\n          1. สลักหลังเฉพาะ หมายถึง การสลักหลังเช็คโดยระบุชื่อผู้รับโอนไว้ด้วย พร้อมด้วยลงลายมือชื่อผู้สลักหลัง เช่น นายอุตุ  ธรณีวิทยาต้องการโอนเช็คให้นายน้ำยา  ใสแจ๋ว จึงสลักหลังว่า โอนให้นายน้ำยา  ใสแจ๋วและลงลายชื่อนายอุตุ  ธรณีวิทยา แล้วส่งมอบเช็คนั้นให้นายแดง ก็เป็นอันว่าสมบูรณ์ตามกฎหมายแล้วครับ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n          2. สลักหลังลอย หมายถึง การสลักหลังโดยลงลายมือชื่อผู้สลักเพียงอย่างเดียว ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับโอนไว้ด้วย เช่น ถ้านายดำต้องการโอนเช็คให้นายเขียว นายดำเพียงลงลายมือชื่อที่ด้านหลังเช็คแล้วส่งมอบให้นายเขียวก็เป็นอันสมบูรณ์เช่นกัน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n          การสลักหลัง ถ้าประสงค์จะโอนเช็คให้เฉพาะตัว ก็สามารถระบุการห้ามสลักหลังต่อไว้ก็ได้ เช่น นายดำต้องการโอนเช็คให้นายเขียวเฉพาะตัว นายดำ ต้องสลักหลังว่า “ โอนให้นายเขียว “ แล้วระบุข้อความในบรรทัดต่อมาว่า “ ห้ามสลักหลังต่อ “ และลงลายมือชื่อนายดำไว้ แล้วส่งมอบให้นายเขียว อย่างนี้ นายเขียว ไม่สามารถสลักหลังโอนให้ใครอีกต่อไป ถ้านายเขียวขืนโอนต่อ นายดำก็พ้นความรับผิดต่อเช็คนั้นกับบุคคลผู้รับโอนต่อจากนายเขียว<br />\n          การสลักหลังต้องเป็นข้อความอันปราศจากเงื่อนไขได ๆ ถ้ามีไว้ให้ถือว่าเงื่อนไขนั้นมิได้เขียนไว้เลย เช่น นายเขียวต้องการโอนเช็คให้นายเหลือง นายเชียวเขียนสลักหลังว่า “ โอนให้นายเหลือง” แล้วบรรทัดต่อมา เขียนว่า <br />\n“ การสลักหลังนี้จะมีผลสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อนายเหลืองมีลูกเป็นผู้ชาย” เช่นนี้ถือว่าเงื่อนไขนี้ไม่ได้เขียนไว้เลย<br />\n          การสลักหลังเช็คเพื่อโอนเป็นบางส่วนเป็นโมฆะตามกฎหมาย เช่น นายเหลืองได้รับโอนเช็คจำนวน 100,000 บาท แล้วนายเหลือง ต้องการโอนเช็คฉบับนี้ให้นายม่วง แต่นายเหลืองสลักหลังว่า “ โอนให้นายม่วง 50,000 บาท และลงชื่อนายขาวแล้วส่งมอบให้นายเหลือง เช่นนี้ นายม่วงไม่สามารถนำเช็คฉบับนี้ไปเรียกรับเงินตามเช็คไม่ได้แม้แต่บาทเดียว เพราะถือว่าเช็คฉบับนี้เป็นโมฆะตามกฎหมาย\n</p>\n<p>\n          หากนายเขียวต้องการโอนเช็คฉบับนี้ต่อให้นายเหลือง นายเขียวก็สลักหลังต่อจากนายดำ ตามตัวอย่างได้เลย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n          หมายเหตุ การสลักหลังควรลงวันที่สลักหลังไว้ด้วย เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบว่าใครสลักหลังก่อนหลังและมีการสลักหลังติดต่อกันโดยไม่ขาดสาย เมื่อเกิดปัญหาถกเถียงกันจะสามรถทราบได้ว่าใครเป็นผู้ทรงเช็คโดยชอบ\n</p>\n<p>\n<br />\nเช็คขีดคร่อมและเช็คไม่ขีดคร่อมมีความหมายว่าอย่างไร\n</p>\n<p>\n          เช็คขีดคร่อม หมายถึง เช็ค ที่เขียนเส้นขนานคู่ขีดขวางไว้ด้านหน้าเช็ค เป็นการแสดงให้ธนาคารรับฝากเข้าบัญชีของผู้ทรงเช็คเท่านั้น ผู้ทรงเช็คหมดสิทธิ์ที่จะขอเบิกเงินสดจากธนาคาร <br />\n          ผู้ทรงเช็คขีดคร่อมจึงไม่สามารถนำเช็คมาขอเบิกเงินสดตามเช็คนั้นได้ในทันที จะต้องนำฝากเข้าบัญชีเงินฝากของตนที่ได้เปิดไว้กับธนาคารแล้วให้ธนาคารผู้รับฝากเป็นผู้ไปเรียกเก็บเงินให้เท่านั้น<br />\n          เช็คไม่ขีดคร่อม หมายถึง เช็ค ที่ผู้ทรงเช็คสมารถนำมาขอเบิกเงินสดตามเช็คจากธนาคารได้เลย<br />\n          คิดว่าพอจะทราบความหมายกันแล้วนะครับ เช็คทั้ง 2 ชนิดนี้ นิยมใช้พอ ๆ กัน แต่ถ้าในทางธุรกิจแล้วจะนิยมใช้เช็คขีดคร่อมกันมากกว่า\n</p>\n<p>\n          เช็คไม่ขีดคร่อม ไม่มีรายละเอียดที่ซับซ้อนมากนัก การใช้เช็คชนิดนี้ให้พิจารณาให้ถูกต้องตามเงื่อนไขของกฎหมายเรื่องเช็คทั่ว ๆ ไปก็ถือว่าใช้ได้แล้ว ก็จะขอข้ามไป โดยไม่ขอกล่าวในที่นี้ ส่วนการใช้เช็คขีดคร่อมนั้น นอกจากจะต้องทำให้ถูกต้องตามเงื่อนไขของกฎหมายเรื่องเช็คทั่ว ๆ ไปแล้วยังจะต้องพิจารณาถึงลักษณะพิเศษของเช็คชนิดนี้ให้ดี ๆ ด้วย\n</p>\n<p>\nประเภทของเช็คขีดคร่อม\n</p>\n<p>\n          เช็คขีดคร่อมมี 2 ประเภท คือ\n</p>\n<p>\n               1. เช็คขีดคร่อมทั่วไป หมายถึง เช็คขีดคร่อมที่สามารถนำฝากเข้าบัญชีของธนาคารใดก็ได้   ตัวอย่างการขีดคร่อมทั่วไป เช่น ขีดเส้นขนานตัดในแนวเฉียงบริเวณมุมบนซ้ายของเช็คแล้วเขียนข้อความไว้ด้านในระหว่างเส้นสองเส้นนั้น เช่น เขียนคำว่า<br />\n          “&amp; co “ หมายความว่า ต้องนำฝากเข้าบัญชีตามชื่อที่ระบุไว้ด้านหน้าเช็คเท่านั้น ถ้าจะนำฝากเข้าบัญชีคนอื่น ต้องมีการลงลายมือชื่อสลักหลังของผู้สลักหลังคนแรก และหรือคนอื่น ๆ ต่อ ๆ กันมา จนถึงลายมือชื่อสลักหลังของผู้ทรงคนสุดท้ายซึ่งสลักหลังโอนให้กับผู้นำฝากเข้าบัญชีธนาคาร\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          “ ห้ามเปลี่ยนมือ “ หรือ “ Not Negotiable “ หมายความว่า เช็คฉบับนี้ไม่อาจโอนต่อไปได้ด้วยการสลักหลัง การนำฝากเข้าบัญชีธนาคารต้องนำฝากเข้าบัญชีของผู้มีชื่อระบุไว้ที่ด้านหน้าเช็คเท่านั้น (การขีดคร่อมแบบนี้ห้ามนำไปใช้กับเช็คจ่ายผู้ถือที่ไม่ระบุชื่อผู้รับเงินหรือเช็คจ่ายผู้ถือทีเขียนคำว่า “ เงินสด” ไว้ที่ช่องว่าง “ จ่าย………………หรือผู้ถือ ” ถ้าขีดคร่อมเช็ค &quot;จ่ายผู้ถือ&quot;แบบนี้แล้วนำเช็คไปฝากเข้าบัญชีธนาคาร ธนาคารจะปฏิเสธการรับฝากทันที เพราะไม่มีชื่อตามบัญชีที่ด้านหน้าเช็ค หรือกรณีเขียนระบุ “เงินสด” ธนาคารจะปฏิเสธการรับฝากเช่นกัน เพราะคำว่า “เงินสด”ไม่ใช่ชื่อคน ธนาคารไม่อาจรู้ได้ว่าห้ามใคร และยังทำให้เช็คฉบับนี้เสียไปเลย เพราะจำนำไปเบิกเงินสดอย่างเช็คจ่ายผู้ถืออีกไม่ได้ )\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n          “เข้าบัญชีผู้รับเงินเท่านั้น “ หรือ “ A/c Payee Only “ หมายความว่า เช็คฉบับนี้ไม่อาจโอนต่อไปได้ด้วยการสลักหลัง การนำฝากเข้าบัญชีธนาคารก็ต้องนำฝากเข้าบัญชีของผู้ที่มีชื่อระบุไว้ที่ด้านหน้าเช็คเท่านั้น (การขีดคร่อมแบบนี้ห้ามนำไปใช้กับเช็คจ่ายผู้ถือที่ไม่ระบุชื่อผู้รับเงินหรือเช็คจ่ายผู้ถือทีเขียนคำว่า “ เงินสด” ไว้ที่ช่องว่าง “ จ่าย………………หรือผู้ถือ ” ถ้าขีดคร่อมเช็ค&quot;จ่ายผู้ถือ&quot; แบบนี้แล้วนำเช็คไปฝากเข้าบัญชีธนาคาร ธนาคารจะปฏิเสธการรับฝากทันที เพราะไม่มีชื่อตามบัญชีที่ด้านหน้าเช็ค หรือกรณีเขียนระบุ “เงินสด” ธนาคารจะปฏิเสธการรับฝากเช่นกัน เพราะคำว่า “เงินสด”ไม่ใช่ชื่อคน และยังทำให้เช็คฉบับนี้เสียไปเลย เพราะจำนำไปเบิกเงินสดอย่างเช็คจ่ายผู้ถืออีกไม่ได้ )\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n            ถ้าขีดเส้นสองเส้นในแนวขนานไว้เฉย ๆ โดยไม่เขียนอะไร หมายความว่า เช็คฉบับนี้จะนำมาขอเบิกเงินสดไม่ได้ ต้องนำฝากเข้าบัญชีธนาคารเท่านั้น ไม่ว่าจะเป็นเช็ค “ จ่ายผู้ถือ “ หรือเช็ค “ จ่ายตามคำสั่ง “\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          2. เช็คขีดคร่อมเฉพาะ หมายถึง เช็คขีดคร่อมที่ระบุชื่อธนาคารไว้ด้วย การนำเช็คขีดคร่อมแบบนี้ฝากเข้าบัญชีธนาคาร จะต้องนำฝากเข้าบัญชีธนาคารที่ระบุชื่อขีดคร่อมไว้เท่านั้น<br />\n            ตัวอย่างการขีดคร่อมเฉพาะ เช่น ขีดเส้นขนานตัดในแนวเฉียงบริเวณมุมบนซ้ายของเช็คแล้วเขียนชื่อธนาคารไว้ด้านในระหว่างเส้นสองเส้นนั้น เช่น เขียนคำว่า<br />\n       &quot;ธนาคารกรุงสยาม &quot; หมายความว่า เช็คฉบับนี้จะนำฝากเข้าบัญชีธนาคารอื่นไม่ได้ ต้องนำฝากเข้าบัญชีของธนาคารกรุงสยามเท่านั้น สมารถใช้ได้กับเช็ค “ จ่ายผู้ถือ “ และเช็ค “จ่ายตามคำสั่ง “\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n          เช็คที่ขีดคร่อม และเขียนข้อความ “ห้ามเปลี่ยนมือ “ และยังมีขีดคร่อมว่า “ธนาธารกรุงสยาม“ ไว้ด้วย หมายความว่า โอนเปลี่ยนมือให้คนอื่นไม่ได้ และต้องนำฝากเข้าบัญชีของธนาคาร กรุงสยาม เท่านั้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nการออกเช็คที่เป็นความผิดทางอาญา\n</p>\n<p>\n          การออกเช็คโดยไม่ระมัดระวัง ในบางครั้งอาจมีความผิดในทางอาญาได้ เรื่องนี้ได้บัญญัติไว้ชัด ในพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4 ซึ่งบัญญัติไว้ดังนี้<br />\n          “ มาตรา 4 ผู้ใดออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมาย โดยมีลักษณะหรือมีการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้<br />\n               (๑) เจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น<br />\n               (๒) ในขณะที่ออกเช็คนั้นไม่มีเงินอยู่ในบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้<br />\n               (๓) ให้ใช้เงินมีจำนวนสูงกว่าจำนวนเงินที่มีอยู่ในบัญชี อันจะพึงให้ใช้เงินได้ในขณะที่ออกเช็คนั้น<br />\n               (๔) ถอนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนออกจากบัญชีอันพึงให้ใช้เงินตามเช็คจนจำนวนเงินเหลือไม่เพียงพอที่จะใช้เงินตามเช็คนั้นได้<br />\n               (๕) ห้ามธนาคารมิให้ใช้เงินนั้นโดยเจตนาทุจริต<br />\nเมื่อได้มีการยื่นเช็คเพื่อให้ใช้เงินโดยชอบด้วยกฎหมาย ถ้าธนาคารปฏิเสธไม่ใช้เงินตามเช็คนั้น ผู้ออกเช็คมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือทั้งปรับทั้งจำ “\n</p>\n<p>\n          ที่ยกข้อกฎหมายมานี้ก็เพื่อให้ทราบถึงองค์ประกอบของกฎหมายที่ทำให้การออกเช็คแล้วเป็นความผิดและมีโทษในทางอาญา เพื่อจะได้ใช้ความระมัดระวังในการออกเช็คให้มากขึ้น จะได้ไม่ต้องมีคดีขึ้นโรงขึ้นศาลให้เสียเวลาทำมาหากิน\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n<p>\nที่มา<br />\n&quot; ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ตรวจชำระใหม่ พ.ศ. 2534&quot; <br />\n&quot; พระราชบัญญัตฺว่าด้วยความผิดอันเกิดจาการใช้เช็ค พ.ศ. 2534&quot;<br />\n“ วิธีเขียนเช็คให้ถูกต้อง “ เจริญ เจษฎาวัลย์<br />\n“ คำตอบล่าสุดคดีเช็ค ” นายเถลิงศักดิ์ คำสุระ<br />\nที่มา : <a href=\"http://www.junghoo.com/index.php?lay=show&amp;ac=article&amp;Id=28539&amp;Ntype=3\">http://www.junghoo.com/index.php?lay=show&amp;ac=article&amp;Id=28539&amp;Ntype=3</a>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\">จัดทำโดย นางโสภิณ  อมรรัตน์</span></span></span></span></b><b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"> </span></span></span></span></b><b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></b><b><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Cordia New\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></b></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1718650621, expire = 1718737021, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4e35459fb1b25fe4a0f4cb6078458d25' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1726d5447e25f1006e55fb040248c597' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>งั้น ๆ เนาะ</p>\n', created = 1718650621, expire = 1718737021, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1726d5447e25f1006e55fb040248c597' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เช็ค ที่มิใช่ ..

รูปภาพของ sassopin

EmbarassedสวัสดีEmbarassed
วันนี้เรามาทำความรู้จักเกี่ยวกับ เช็ค กันเถอะ

ความรู้เกี่ยวกับเช็คLaughing


เช็ค คืออะไร
          ตามประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา ลักษณะ 21 หมวด 4 เช็ค มาตร 987 ได้ให้คำจำกัดความของเช็คไว้ว่า
          เช็ค คือหนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่าผู้สั่งจ่าย สั่งธนาคารให้ใช้เงินจำนวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือให้ใช้ตามคำสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่ง อันเรียกว่าผู้รับเงิน “

เช็คในประเทศไทย มีกฎหมายควบคุมอยู่ 2 ฉบับ คือ
     1. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา ลักษณะ 21 ว่าด้วยเรื่องตั๋วเงิน หมวด 4 เช็ค
     2. พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจาการใช้เช็ค พ.ศ. 2534
          ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จะควบคุมในเรื่องเงื่อนไขและวิธีการออกเช็คให้ถูกต้องตามกฎหมาย เรื่องความสมบูรณ์ของเช็ค เรียกว่าเป็นเรื่องทางแพ่ง
          พระราชบัญญัติความผิดอันเกิดจาการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 จะควบคุมให้มีการออกเช็ค โดยสุจริต ถ้ามีการออกเช็คโดยทุจริตก็จะต้องรับโทษทางอาญาและได้กำหนดโทษไว้ชัดเจนด้วย

การใช้เช็ค
          ผู้ที่ประสงค์จะมีเช็คไว้ใช้ในการสั่งให้ธนาคารจ่ายเงิน ( ถอนเงิน )  ต้องไปเปิดบัญชีเงินฝากกระแสรายวันกับธนาคาร  จึงจะใช้เช็คได้
          ธนาคารต่าง ๆ จะพิถีพิถันในการรับเปิดบัญชีเงินฝากกระแสรายวันกับลูกค้าประเภทนี้มากกว่าประเภทอื่น โดยอาจมีการพิจารณาถึงประวัติของลูกค้าโดยเฉพาะประวัติการใช้เช็คของธนาคารอื่น ๆ ด้วย
         เมื่อเปิดบัญชีไว้กับธนาคารสำนักงานใด การจะเขียนเช็คสั่งจ่ายเงินออกจากบัญชีของตนก็ต้องใช้แบบฟอร์มเช็คที่ธนาคารสำนักงานนั้นมอบให้  ห้ามใช้เช็คแบบฟอร์มอื่นโดยไม่ได้ตกลงกับธนาคารเสียก่อน  ธนาคารจะคืนเช็คของท่านทันที
          เช็ค ต้องมีรายการดังกล่าวต่อไปนี้ คือ
               (๑) คำบอกชื่อว่าเป็นเช็ค
               (๒) คำสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้ใช้เงินเป็นจำนวนแน่นอน
               (๓) ชื่อ หรือยี่ห้อ สำนักงานของธนาคาร
               (๔) ชื่อ หรือยี่ห้อของผู้รับเงิน หรือคำจดแจ้งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ
               (๕) สถานที่ใช้เงิน
               (๖) วันและสถานที่ออกเช็ค
               (๗) ลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย

ที่มา :

 

เช็คที่ธนาคารต่าง ๆ  ใช้มีอยู่ 2 แบบ คือ
1. เช็คจ่ายผู้ถือ [BEARER CHEQUE]
2. เช็คจ่ายตามคำสั่ง [ORDER CHEQUE]
 
เช็คจ่ายผู้ถือ
          เช็คจ่ายผู้ถือ หรือที่นิยมเรียกกันว่า “เช็คผู้ถือ” คือเช็คที่ทางธนาคารต่าง ๆ ออกแบบไว้เพื่อจุดประสงค์ให้ผู้สั่งจ่ายเช็คโดยระบุชื่อผู้รับเงินหรือจะไม่ระบุชื่อผู้รับเงินก็ได้
          ธนาคารในบ้านเราได้ออกแบบเช็คจ่ายผู้ถือ โดยมีสาระสำคัญอยู่ที่ช่องว่างที่ให้ผู้สั่งจ่ายเช็คกรอกเพื่อระบุผู้รับเงินดังนี้  “จ่าย…………………………………………………….หรือผู้ถือ[or bearer]"
          เช็คแบบนี้ผู้สั่งจ่ายจะสั่งจ่ายโดยไม่กรอกอะไรลงในช่องว่าง “จ่าย…………………..หรือผู้ถือ “ เพียงแต่กรอก จำนวนเงินทั้งตัวเลขและตัวหนังสือแล้วลงลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย ก็ถือว่าเช็คสมบูรณ์ 

 หรือกรอกคำว่า “เงินสด” ลงในช่องว่าง “จ่าย………………………หรือผู้ถือ” ก็มีผลเช่นเดียวกัน

 

 

 

 

 

 


หรือกรอกชื่อ นามสกุล ผู้รับเงินลงไปในช่องว่าง “จ่าย……………………หรือผู้ถือ” โดยไม่ได้ขีดฆ่าคำว่า “หรือผู้ถือ” กรณีนี้หมายความว่า จ่ายให้กับผู้ที่ถูกระบุชื่อไว้ในเช็ค หรือ ผู้ถือก็ได้

 

 

 

 

          การสั่งจ่าย “เช็คจ่ายผู้ถือ” โดยไม่ได้ระบุชื่อผู้รับเงินในช่องว่าง “ จ่าย………………………หรือผู้ถือ “ และยังขีดฆ่าคำว่า ”หรือผู้ถือ “ ออก เช็คฉบับนี้จะกลายเป็นเช็ค “จ่ายตามคำสั่ง ” ทันที ถ้านำไปขึ้นเงินก็จะถูกปฏิเสธจากธนาคาร เพราะเป็นเช็คที่ไม่สมบูรณ์ตามกฎหมาย (ไม่มีชื่อผู้รับเงิน)
          หรือเขียนคำว่า “เงินสด” ลงในช่องว่าง “ จ่าย……………………..หรือผู้ถือ “ แล้วขีดฆ่าคำว่า “ หรือผู้ถือ “ ออก เช็คฉบับนี้ก็กลายเป็นเช็ค “ จ่ายตามคำสั่ง “ เช่นกัน แต่เป็นเช็คที่ไม่สมบูรณ์ตามกฏหมาย เพราะว่า คำว่า “เงินสด” ไม่ใช่ชื่อผู้รับเงิน

การจ่ายเงินของธนาคาร
          ธนาคารจะจ่ายเงินสดให้แก่ใครก็ได้ที่เป็นผู้ถือ “เช็คจ่ายผู้ถือ “ มาขอขึ้นเงิน

การโอนเปลี่ยนมือ
          เช็คจ่ายผู้ถือ สามารถโอนเปลี่ยนมือกันได้เพียงโดยการส่งมอบเช็คให้แก่กันก็เป็นอันใช้ได้ ดังนั้นใครก็ได้ที่เป็นผู้ถือเช็คแบบนี้ไปขึ้นเงินกับธนาคาร ธนาคารก็จะจ่ายเงินสดให้ทันทันที โดยมีกฎหมายรับรอง ตาม ป.พ.พ.มาตรา 989 วรรคแรกประกอบกับมาตรา 918
          ป.พ.พ.มาตรา 989 วรรคแรกมีใจความว่า ”ให้ยกบทบัญญัติในหมวด 2 ว่าด้วยตั๋วแลกเงินมาบังคับในเรื่องเช็คเพียงเท่าที่ไม่ขัดกับสภาพแห่งตราสารชนิดนี้ คือมาตรา 910 , 914 ถึง 923……”
          ป.พ.พ.มาตรา 918 มีใจความว่า “ ตั๋วแลกเงินอันสั่งให้ใช้เงินแก่ผู้ถือนั้น ท่านว่าย่อมโอนไปเพียงด้วยส่งมอบให้กัน “
          การใช้เช็คแบบนี้จึงมีความเสี่ยงสูง ถ้าเกิดท่านทำเช็คสูญหายหรือเช็คถูกลักถูกขโมยก็จะป้องกันได้ยากมาก จึงควรใช้เช็คแบบนี้ได้เฉพาะในกรณี เมื่อไปเขียนเบิกเงินสดที่ธนาคารเอง หรือเมื่อสั่งจ่ายเงินไม่มากนัก

การใช้เช็คผู้ถือให้ปลอดภัยต้องทำอย่างไร
          ถ้าจำเป็นจริง ๆ ก็มีวิธีเดียว คือให้ระบุชื่อ นามสกุลผู้รับเงินลงไปในช่องว่าง “จ่าย………………………..หรือผู้ถือ “ แล้วให้ขีดฆ่าคำว่า “หรือผู้ถือ” ออก ก็จะปลอดภัย แต่การขีดฆ่าคำว่า “หรือผู้ถือ” ออก เช็คฉบับนั้นก็จะกลายเป็น”เช็คจ่ายตามคำสั่ง”ทันที การนำเช็คไปขึ้นเงินกับธนาคาร หรือเมื่อต้องการโอนเปลี่ยนมือก็ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขของ”เช็คจ่ายตามคำสั่ง”

เช็คจ่ายตามคำสั่ง
เช็คจ่ายตามคำสั่ง หมายถึง เช็คที่ต้องระบุชื่อผู้รับเงินไว้ในเช็คให้ถูกต้องครบถ้วน การนำเช็คจ่ายตามคำสั่งที่ยังไม่ระบุชื่อผู้รับเงินไปขอขึ้นเงินกับธนาคาร จะถูกปฏิเสธการจ่ายเงินจากธนาคารทันที เพราะเป็นเช็คที่มีรายการไม่สมบูรณ์ครบถ้วนตามกฏหมาย ข้อนี้ก็มีกฎหมายรับรองไว้ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 988
          ธนาคารต่าง ๆ ในเมืองไทย ได้ออกแบบเช็คจ่ายตามคำสั่ง โดยมีสาระสำคัญอยู่ที่ช่องว่างที่ให้ระบุชื่อผู้รับเงินโดยเขียน ชื่อ นามสกุล ลงในช่องว่าง “ จ่าย……………………………………………………หรือตามคำสั่ง[or order] “ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ แล้วขีดฆ่าคำว่า “หรือตามคำสั่ง “ ออก หากเขียนชื่อ นามสกุลไม่ถูกต้องเมื่อนำเช็คไปขอขึ้นเงินจะถูกปฏิเสธการจ่ายเงินจากธนาคาร

 

 

 

 

          สั่งจ่ายเช็คโดยไม่ได้ระบุชื่อผู้รับเงินลงในช่องว่าง “ จ่าย……………………………หรือตามคำสั่ง “ โดยปล่อยว่างไว้เฉย ๆ อย่างนี้เป็นเช็คที่ไม่สมบูรณ์ตามกฎหมาย ธนาคารจะปฏิเสธการจ่ายเงิน
          สั่งจ่ายเช็คโดยระบุคำว่า “ เงินสด “ ลงในช่องว่าง “ จ่าย…………………………..หรือตามคำสั่ง “  ของเช็คจ่ายตามคำสั่ง ถือว่าเป็นเช็คที่ไม่สมบูรณ์ตามกฎหมาย เพราะคำว่า “เงินสด” ไม่ใช่ชื่อผู้รับเงิน
          สั่งจ่ายเช็คโดยระบุคำว่า “ เงินสด “ ลงในช่องว่าง “ จ่าย…………………………..หรือตามคำสั่ง “  ของเช็คจ่ายตามคำสั่ง แล้วขีดฆ่าคำว่า “ หรือตามคำสั่ง “ ออก ยังคงถือว่าเป็น “เช็คจ่ายตามคำสั่ง “ อยู่ แต่เป็นเช็คที่ไม่สมบูรณ์ตามกฏหมาย ที่ไม่สมบูรณ์ตามกฎหมาย เพราะคำว่า “เงินสด” ไม่ใช่ชื่อผู้รับเงิน

 

การโอนเปลี่ยนมือเช็คจ่ายตามคำสั่ง
          การโอนเปลี่ยนมือเช็คจ่ายตามคำสั่ง ทำได้ด้วยการที่ผู้ทรงเช็คสลักหลังแล้วส่งมอบ ซึ่งมีกฎหมายรับรองไว้เหมือนกัน คือ ป.พ.พ. มาตรา 989 ประกอบมาตรา 917 ครับ
          มาตรา 989 มีใจความว่า ให้ยกบทบัญญัติในหมวด 2 ว่าด้วยตั๋วแลกเงินมาใช้บังคับในเรื่องเช็ค
          มาตรา 917 วรรคหนึ่ง  ว่าด้วยเรื่องการโอนตั๋วเงินที่นำมาใช้บังคับในเรื่องเช็คได้ มีใจความว่า “ อันตั๋วแลกเงินทุกฉบับ ถึงแม้ว่าจะมิใช่สั่งจ่ายให้แก่บุคคลเพื่อเขาสั่งก็ตาม ท่านว่าย่อมโอนให้กันได้ด้วยการสลักหลังและส่งมอบ “
          การสลักหลัง หมายถึง การเขียนข้อความพร้อมกับการลงลายมือชื่อ หรือลงลายมือชื่ออย่างเดียวที่ด้านหลังของเช็คเพื่อแสดงถึงการโอนเช็คนั้น

การสลักหลัง มี 2 แบบ คือ

          1. สลักหลังเฉพาะ หมายถึง การสลักหลังเช็คโดยระบุชื่อผู้รับโอนไว้ด้วย พร้อมด้วยลงลายมือชื่อผู้สลักหลัง เช่น นายอุตุ  ธรณีวิทยาต้องการโอนเช็คให้นายน้ำยา  ใสแจ๋ว จึงสลักหลังว่า โอนให้นายน้ำยา  ใสแจ๋วและลงลายชื่อนายอุตุ  ธรณีวิทยา แล้วส่งมอบเช็คนั้นให้นายแดง ก็เป็นอันว่าสมบูรณ์ตามกฎหมายแล้วครับ

 

 

 


          2. สลักหลังลอย หมายถึง การสลักหลังโดยลงลายมือชื่อผู้สลักเพียงอย่างเดียว ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับโอนไว้ด้วย เช่น ถ้านายดำต้องการโอนเช็คให้นายเขียว นายดำเพียงลงลายมือชื่อที่ด้านหลังเช็คแล้วส่งมอบให้นายเขียวก็เป็นอันสมบูรณ์เช่นกัน

 


          การสลักหลัง ถ้าประสงค์จะโอนเช็คให้เฉพาะตัว ก็สามารถระบุการห้ามสลักหลังต่อไว้ก็ได้ เช่น นายดำต้องการโอนเช็คให้นายเขียวเฉพาะตัว นายดำ ต้องสลักหลังว่า “ โอนให้นายเขียว “ แล้วระบุข้อความในบรรทัดต่อมาว่า “ ห้ามสลักหลังต่อ “ และลงลายมือชื่อนายดำไว้ แล้วส่งมอบให้นายเขียว อย่างนี้ นายเขียว ไม่สามารถสลักหลังโอนให้ใครอีกต่อไป ถ้านายเขียวขืนโอนต่อ นายดำก็พ้นความรับผิดต่อเช็คนั้นกับบุคคลผู้รับโอนต่อจากนายเขียว
          การสลักหลังต้องเป็นข้อความอันปราศจากเงื่อนไขได ๆ ถ้ามีไว้ให้ถือว่าเงื่อนไขนั้นมิได้เขียนไว้เลย เช่น นายเขียวต้องการโอนเช็คให้นายเหลือง นายเชียวเขียนสลักหลังว่า “ โอนให้นายเหลือง” แล้วบรรทัดต่อมา เขียนว่า
“ การสลักหลังนี้จะมีผลสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อนายเหลืองมีลูกเป็นผู้ชาย” เช่นนี้ถือว่าเงื่อนไขนี้ไม่ได้เขียนไว้เลย
          การสลักหลังเช็คเพื่อโอนเป็นบางส่วนเป็นโมฆะตามกฎหมาย เช่น นายเหลืองได้รับโอนเช็คจำนวน 100,000 บาท แล้วนายเหลือง ต้องการโอนเช็คฉบับนี้ให้นายม่วง แต่นายเหลืองสลักหลังว่า “ โอนให้นายม่วง 50,000 บาท และลงชื่อนายขาวแล้วส่งมอบให้นายเหลือง เช่นนี้ นายม่วงไม่สามารถนำเช็คฉบับนี้ไปเรียกรับเงินตามเช็คไม่ได้แม้แต่บาทเดียว เพราะถือว่าเช็คฉบับนี้เป็นโมฆะตามกฎหมาย

          หากนายเขียวต้องการโอนเช็คฉบับนี้ต่อให้นายเหลือง นายเขียวก็สลักหลังต่อจากนายดำ ตามตัวอย่างได้เลย

 


          หมายเหตุ การสลักหลังควรลงวันที่สลักหลังไว้ด้วย เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบว่าใครสลักหลังก่อนหลังและมีการสลักหลังติดต่อกันโดยไม่ขาดสาย เมื่อเกิดปัญหาถกเถียงกันจะสามรถทราบได้ว่าใครเป็นผู้ทรงเช็คโดยชอบ


เช็คขีดคร่อมและเช็คไม่ขีดคร่อมมีความหมายว่าอย่างไร

          เช็คขีดคร่อม หมายถึง เช็ค ที่เขียนเส้นขนานคู่ขีดขวางไว้ด้านหน้าเช็ค เป็นการแสดงให้ธนาคารรับฝากเข้าบัญชีของผู้ทรงเช็คเท่านั้น ผู้ทรงเช็คหมดสิทธิ์ที่จะขอเบิกเงินสดจากธนาคาร
          ผู้ทรงเช็คขีดคร่อมจึงไม่สามารถนำเช็คมาขอเบิกเงินสดตามเช็คนั้นได้ในทันที จะต้องนำฝากเข้าบัญชีเงินฝากของตนที่ได้เปิดไว้กับธนาคารแล้วให้ธนาคารผู้รับฝากเป็นผู้ไปเรียกเก็บเงินให้เท่านั้น
          เช็คไม่ขีดคร่อม หมายถึง เช็ค ที่ผู้ทรงเช็คสมารถนำมาขอเบิกเงินสดตามเช็คจากธนาคารได้เลย
          คิดว่าพอจะทราบความหมายกันแล้วนะครับ เช็คทั้ง 2 ชนิดนี้ นิยมใช้พอ ๆ กัน แต่ถ้าในทางธุรกิจแล้วจะนิยมใช้เช็คขีดคร่อมกันมากกว่า

          เช็คไม่ขีดคร่อม ไม่มีรายละเอียดที่ซับซ้อนมากนัก การใช้เช็คชนิดนี้ให้พิจารณาให้ถูกต้องตามเงื่อนไขของกฎหมายเรื่องเช็คทั่ว ๆ ไปก็ถือว่าใช้ได้แล้ว ก็จะขอข้ามไป โดยไม่ขอกล่าวในที่นี้ ส่วนการใช้เช็คขีดคร่อมนั้น นอกจากจะต้องทำให้ถูกต้องตามเงื่อนไขของกฎหมายเรื่องเช็คทั่ว ๆ ไปแล้วยังจะต้องพิจารณาถึงลักษณะพิเศษของเช็คชนิดนี้ให้ดี ๆ ด้วย

ประเภทของเช็คขีดคร่อม

          เช็คขีดคร่อมมี 2 ประเภท คือ

               1. เช็คขีดคร่อมทั่วไป หมายถึง เช็คขีดคร่อมที่สามารถนำฝากเข้าบัญชีของธนาคารใดก็ได้   ตัวอย่างการขีดคร่อมทั่วไป เช่น ขีดเส้นขนานตัดในแนวเฉียงบริเวณมุมบนซ้ายของเช็คแล้วเขียนข้อความไว้ด้านในระหว่างเส้นสองเส้นนั้น เช่น เขียนคำว่า
          “& co “ หมายความว่า ต้องนำฝากเข้าบัญชีตามชื่อที่ระบุไว้ด้านหน้าเช็คเท่านั้น ถ้าจะนำฝากเข้าบัญชีคนอื่น ต้องมีการลงลายมือชื่อสลักหลังของผู้สลักหลังคนแรก และหรือคนอื่น ๆ ต่อ ๆ กันมา จนถึงลายมือชื่อสลักหลังของผู้ทรงคนสุดท้ายซึ่งสลักหลังโอนให้กับผู้นำฝากเข้าบัญชีธนาคาร

 

 

          “ ห้ามเปลี่ยนมือ “ หรือ “ Not Negotiable “ หมายความว่า เช็คฉบับนี้ไม่อาจโอนต่อไปได้ด้วยการสลักหลัง การนำฝากเข้าบัญชีธนาคารต้องนำฝากเข้าบัญชีของผู้มีชื่อระบุไว้ที่ด้านหน้าเช็คเท่านั้น (การขีดคร่อมแบบนี้ห้ามนำไปใช้กับเช็คจ่ายผู้ถือที่ไม่ระบุชื่อผู้รับเงินหรือเช็คจ่ายผู้ถือทีเขียนคำว่า “ เงินสด” ไว้ที่ช่องว่าง “ จ่าย………………หรือผู้ถือ ” ถ้าขีดคร่อมเช็ค "จ่ายผู้ถือ"แบบนี้แล้วนำเช็คไปฝากเข้าบัญชีธนาคาร ธนาคารจะปฏิเสธการรับฝากทันที เพราะไม่มีชื่อตามบัญชีที่ด้านหน้าเช็ค หรือกรณีเขียนระบุ “เงินสด” ธนาคารจะปฏิเสธการรับฝากเช่นกัน เพราะคำว่า “เงินสด”ไม่ใช่ชื่อคน ธนาคารไม่อาจรู้ได้ว่าห้ามใคร และยังทำให้เช็คฉบับนี้เสียไปเลย เพราะจำนำไปเบิกเงินสดอย่างเช็คจ่ายผู้ถืออีกไม่ได้ )

 

 


          “เข้าบัญชีผู้รับเงินเท่านั้น “ หรือ “ A/c Payee Only “ หมายความว่า เช็คฉบับนี้ไม่อาจโอนต่อไปได้ด้วยการสลักหลัง การนำฝากเข้าบัญชีธนาคารก็ต้องนำฝากเข้าบัญชีของผู้ที่มีชื่อระบุไว้ที่ด้านหน้าเช็คเท่านั้น (การขีดคร่อมแบบนี้ห้ามนำไปใช้กับเช็คจ่ายผู้ถือที่ไม่ระบุชื่อผู้รับเงินหรือเช็คจ่ายผู้ถือทีเขียนคำว่า “ เงินสด” ไว้ที่ช่องว่าง “ จ่าย………………หรือผู้ถือ ” ถ้าขีดคร่อมเช็ค"จ่ายผู้ถือ" แบบนี้แล้วนำเช็คไปฝากเข้าบัญชีธนาคาร ธนาคารจะปฏิเสธการรับฝากทันที เพราะไม่มีชื่อตามบัญชีที่ด้านหน้าเช็ค หรือกรณีเขียนระบุ “เงินสด” ธนาคารจะปฏิเสธการรับฝากเช่นกัน เพราะคำว่า “เงินสด”ไม่ใช่ชื่อคน และยังทำให้เช็คฉบับนี้เสียไปเลย เพราะจำนำไปเบิกเงินสดอย่างเช็คจ่ายผู้ถืออีกไม่ได้ )

 

 


            ถ้าขีดเส้นสองเส้นในแนวขนานไว้เฉย ๆ โดยไม่เขียนอะไร หมายความว่า เช็คฉบับนี้จะนำมาขอเบิกเงินสดไม่ได้ ต้องนำฝากเข้าบัญชีธนาคารเท่านั้น ไม่ว่าจะเป็นเช็ค “ จ่ายผู้ถือ “ หรือเช็ค “ จ่ายตามคำสั่ง “

 

 

          2. เช็คขีดคร่อมเฉพาะ หมายถึง เช็คขีดคร่อมที่ระบุชื่อธนาคารไว้ด้วย การนำเช็คขีดคร่อมแบบนี้ฝากเข้าบัญชีธนาคาร จะต้องนำฝากเข้าบัญชีธนาคารที่ระบุชื่อขีดคร่อมไว้เท่านั้น
            ตัวอย่างการขีดคร่อมเฉพาะ เช่น ขีดเส้นขนานตัดในแนวเฉียงบริเวณมุมบนซ้ายของเช็คแล้วเขียนชื่อธนาคารไว้ด้านในระหว่างเส้นสองเส้นนั้น เช่น เขียนคำว่า
       "ธนาคารกรุงสยาม " หมายความว่า เช็คฉบับนี้จะนำฝากเข้าบัญชีธนาคารอื่นไม่ได้ ต้องนำฝากเข้าบัญชีของธนาคารกรุงสยามเท่านั้น สมารถใช้ได้กับเช็ค “ จ่ายผู้ถือ “ และเช็ค “จ่ายตามคำสั่ง “

 

 


          เช็คที่ขีดคร่อม และเขียนข้อความ “ห้ามเปลี่ยนมือ “ และยังมีขีดคร่อมว่า “ธนาธารกรุงสยาม“ ไว้ด้วย หมายความว่า โอนเปลี่ยนมือให้คนอื่นไม่ได้ และต้องนำฝากเข้าบัญชีของธนาคาร กรุงสยาม เท่านั้น

 

 

การออกเช็คที่เป็นความผิดทางอาญา

          การออกเช็คโดยไม่ระมัดระวัง ในบางครั้งอาจมีความผิดในทางอาญาได้ เรื่องนี้ได้บัญญัติไว้ชัด ในพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534 มาตรา 4 ซึ่งบัญญัติไว้ดังนี้
          “ มาตรา 4 ผู้ใดออกเช็คเพื่อชำระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมาย โดยมีลักษณะหรือมีการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
               (๑) เจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น
               (๒) ในขณะที่ออกเช็คนั้นไม่มีเงินอยู่ในบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้
               (๓) ให้ใช้เงินมีจำนวนสูงกว่าจำนวนเงินที่มีอยู่ในบัญชี อันจะพึงให้ใช้เงินได้ในขณะที่ออกเช็คนั้น
               (๔) ถอนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนออกจากบัญชีอันพึงให้ใช้เงินตามเช็คจนจำนวนเงินเหลือไม่เพียงพอที่จะใช้เงินตามเช็คนั้นได้
               (๕) ห้ามธนาคารมิให้ใช้เงินนั้นโดยเจตนาทุจริต
เมื่อได้มีการยื่นเช็คเพื่อให้ใช้เงินโดยชอบด้วยกฎหมาย ถ้าธนาคารปฏิเสธไม่ใช้เงินตามเช็คนั้น ผู้ออกเช็คมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือทั้งปรับทั้งจำ “

          ที่ยกข้อกฎหมายมานี้ก็เพื่อให้ทราบถึงองค์ประกอบของกฎหมายที่ทำให้การออกเช็คแล้วเป็นความผิดและมีโทษในทางอาญา เพื่อจะได้ใช้ความระมัดระวังในการออกเช็คให้มากขึ้น จะได้ไม่ต้องมีคดีขึ้นโรงขึ้นศาลให้เสียเวลาทำมาหากิน


 

ที่มา
" ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ตรวจชำระใหม่ พ.ศ. 2534"
" พระราชบัญญัตฺว่าด้วยความผิดอันเกิดจาการใช้เช็ค พ.ศ. 2534"
“ วิธีเขียนเช็คให้ถูกต้อง “ เจริญ เจษฎาวัลย์
“ คำตอบล่าสุดคดีเช็ค ” นายเถลิงศักดิ์ คำสุระ
ที่มา : http://www.junghoo.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=28539&Ntype=3

จัดทำโดย นางโสภิณ  อมรรัตน์

 

รูปภาพของ sassopin

งั้น ๆ เนาะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 783 คน กำลังออนไลน์