• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:79731ab05bbf0d9c734be1011555bb9b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #000080\"><strong>สเต็มเซลล์กับงานวิจัย</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" src=\"/files/u20251/vini.jpg\" height=\"241\" width=\"180\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://mail.vcharkarn.com/varticle/39590\">http://mail.vcharkarn.com/varticle/39590</a>\n</p>\n<p>\n       <span style=\"color: #000080\">ในช่วงปี พ.ศ. 2503–2513 ซึ่งถือว่าเป็นยุคแรกเลยก็ว่าได้ ที่นักวิทยาศาสตร์เริ่มทำการศึกษาวิจัยสเต็มเซลล์จากร่างกายโดยใช้เนื้อเยื่อที่โตเต็มวัย โดยได้นำไปทดลองใช้รักษาผู้ป่วยเด็กที่เป็นโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องชนิดปฐมภูมิ ในปี พ.ศ. 2511 เป็นครั้งแรก  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">       การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสเต็มเซลล์ หรือเซลล์ต้นกำเนิดแพร่หลายไปทั่วในหลายหน่วยงาน เป็นเวลากว่า 20 ปีที่ผ่านมา นักวิทยาศาสตร์พยายามแยกสเต็มเซลล์จากเอ็มบริโอ หรือตัวอ่อนของหนู เพื่อนำมาเลี้ยงในห้องทดลองครั้งแล้วครั้งเล่า จนกระทั่งนักวิจัยสามารถแยกสเต็มเซลล์ออกมาได้สำเร็จ และยังสามารถแสดงให้เห็นว่า สเต็มเซลล์ของมนุษย์ที่แยกมาได้ และเลี้ยงในห้องปฏิบัติการนั้น สามารถพัฒนาไปเป็นเซลล์ชนิดอื่นได้จริง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">       ต่อมาในปี พ.ศ. 2541 นักวิทยาศาสตร์สามารถเพาะสเต็มเซลล์จากตัวอ่อนมนุษย์ และเซลล์สืบพันธุ์ และสามารถสร้างสายพันธุ์ของเซลล์ขึ้นมาได้สำเร็จ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2544 สเต็มเซลล์ตัวอ่อนเหล่านี้ถูกนำไปเพาะเป็นเซลล์เม็ดเลือด นับเป็นความก้าวหน้าของงานวิจัยเกี่ยวกับสเต็มเซลล์ครั้งสำคัญ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">       เมื่อไม่นานมานี้ในประเทศไทยได้มีการสัมมนาระดับชาติ เรื่องทิศทางการวิจัย และพัฒนาด้านเซลล์ต้นกำเนิดหรือสเต็มเซลล์ จัดขึ้น<br />\nโดยศูนย์พันธุวิศวกรรม และเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ซึ่งในขณะนี้ประเทศไทยได้ร่างแนวปฏิบัติ และประเด็นพิจารณาทางชีวจริยธรรมการวิจัยเซลล์ต้นกำเนิดแล้วเสร็จ และถือเป็นแนวปฏิบัติฉบับแรกที่หน่วยงานให้ทุนวิจัย และพัฒนาต้องใช้เป็นแนวทาง ซึ่งจะต้องอยู่ในขอบเขตของหลักเกณฑ์ทางด้านจริยธรรม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">       กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และม.มหิดล จัดทำโครงการวิจัย และพัฒนาห้องปฏิบัติการเซลล์ต้นกำเนิดขึ้น เพื่อนำไปใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคร้ายแรงที่ยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขของประเทศ งานวิจัยระยะแรก จะมุ่งเน้นการเพาะเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิดผิวกระจกตา สำหรับรักษาผู้ป่วยกลุ่มที่มีการทำลายเซลล์ต้นกำเนิดผิวกระจกตา และเซลล์ต้นกำเนิดที่ใช้รักษาผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือด ซึ่งจะเป็นพื้นฐานสำคัญในการประยุกต์ไปสู่การเพาะเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิดชนิดอื่นๆ เพื่อเป็นประโยชน์ในการรักษาโรคต่างๆได้มากกว่า 70 ชนิด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">       สำหรับความคืบหน้าล่าสุดนั้นทางศูนย์บริการโลิหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทยได้มีการเปิดรับบริจาคสเต็มเซลล์ เพื่อนำไปใช้ในการช่วยเหลือชีวิตผู้ป่วยโรคต่างๆได้เป็นที่เรียบร้อยแล้วแล้ว</span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<span style=\"color: #000080\"></span><a href=\"/node/43045\" title=\"กลับหน้าหลัก\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20251/home.gif\" height=\"59\" width=\"50\" /></a> \n</p>\n', created = 1715340426, expire = 1715426826, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:79731ab05bbf0d9c734be1011555bb9b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สเต็มเซลล์กับงานวิจัย

สเต็มเซลล์กับงานวิจัย

 

http://mail.vcharkarn.com/varticle/39590

       ในช่วงปี พ.ศ. 2503–2513 ซึ่งถือว่าเป็นยุคแรกเลยก็ว่าได้ ที่นักวิทยาศาสตร์เริ่มทำการศึกษาวิจัยสเต็มเซลล์จากร่างกายโดยใช้เนื้อเยื่อที่โตเต็มวัย โดยได้นำไปทดลองใช้รักษาผู้ป่วยเด็กที่เป็นโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องชนิดปฐมภูมิ ในปี พ.ศ. 2511 เป็นครั้งแรก  

       การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสเต็มเซลล์ หรือเซลล์ต้นกำเนิดแพร่หลายไปทั่วในหลายหน่วยงาน เป็นเวลากว่า 20 ปีที่ผ่านมา นักวิทยาศาสตร์พยายามแยกสเต็มเซลล์จากเอ็มบริโอ หรือตัวอ่อนของหนู เพื่อนำมาเลี้ยงในห้องทดลองครั้งแล้วครั้งเล่า จนกระทั่งนักวิจัยสามารถแยกสเต็มเซลล์ออกมาได้สำเร็จ และยังสามารถแสดงให้เห็นว่า สเต็มเซลล์ของมนุษย์ที่แยกมาได้ และเลี้ยงในห้องปฏิบัติการนั้น สามารถพัฒนาไปเป็นเซลล์ชนิดอื่นได้จริง

       ต่อมาในปี พ.ศ. 2541 นักวิทยาศาสตร์สามารถเพาะสเต็มเซลล์จากตัวอ่อนมนุษย์ และเซลล์สืบพันธุ์ และสามารถสร้างสายพันธุ์ของเซลล์ขึ้นมาได้สำเร็จ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2544 สเต็มเซลล์ตัวอ่อนเหล่านี้ถูกนำไปเพาะเป็นเซลล์เม็ดเลือด นับเป็นความก้าวหน้าของงานวิจัยเกี่ยวกับสเต็มเซลล์ครั้งสำคัญ

       เมื่อไม่นานมานี้ในประเทศไทยได้มีการสัมมนาระดับชาติ เรื่องทิศทางการวิจัย และพัฒนาด้านเซลล์ต้นกำเนิดหรือสเต็มเซลล์ จัดขึ้น
โดยศูนย์พันธุวิศวกรรม และเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ซึ่งในขณะนี้ประเทศไทยได้ร่างแนวปฏิบัติ และประเด็นพิจารณาทางชีวจริยธรรมการวิจัยเซลล์ต้นกำเนิดแล้วเสร็จ และถือเป็นแนวปฏิบัติฉบับแรกที่หน่วยงานให้ทุนวิจัย และพัฒนาต้องใช้เป็นแนวทาง ซึ่งจะต้องอยู่ในขอบเขตของหลักเกณฑ์ทางด้านจริยธรรม

       กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และม.มหิดล จัดทำโครงการวิจัย และพัฒนาห้องปฏิบัติการเซลล์ต้นกำเนิดขึ้น เพื่อนำไปใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคร้ายแรงที่ยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขของประเทศ งานวิจัยระยะแรก จะมุ่งเน้นการเพาะเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิดผิวกระจกตา สำหรับรักษาผู้ป่วยกลุ่มที่มีการทำลายเซลล์ต้นกำเนิดผิวกระจกตา และเซลล์ต้นกำเนิดที่ใช้รักษาผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือด ซึ่งจะเป็นพื้นฐานสำคัญในการประยุกต์ไปสู่การเพาะเลี้ยงเซลล์ต้นกำเนิดชนิดอื่นๆ เพื่อเป็นประโยชน์ในการรักษาโรคต่างๆได้มากกว่า 70 ชนิด 

       สำหรับความคืบหน้าล่าสุดนั้นทางศูนย์บริการโลิหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทยได้มีการเปิดรับบริจาคสเต็มเซลล์ เพื่อนำไปใช้ในการช่วยเหลือชีวิตผู้ป่วยโรคต่างๆได้เป็นที่เรียบร้อยแล้วแล้ว

 

สร้างโดย: 
นส.อุณานุศร์ ศรีสมัยเจริญ และคุณครูพรรณนภา กำบัง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 282 คน กำลังออนไลน์