• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3e805786bd628eae959d90039893dd99' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #000080\"><strong>ธาตุเหล็ก กับโลหิต</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20251/blood4.gif\" height=\"200\" width=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.topnews.in/usa/why-do-local-blood-centers-turn-promotions-lure-donors-2627\">http://www.topnews.in/usa/why-do-local-blood-centers-turn-promotions-lure-donors-2627</a>\n</p>\n<p>\n<br />\n      <span style=\"color: #000080\"> ในชีวิตประจำวันของคนส่วนใหญ่ มักมีความรู้สึกเหมือนว่าตนเองมีสุขภาพแข็งแรง ไม่เจ็บป่วย แต่ในความเป็นจริงแล้ว ปัจจัยหลายๆอย่างที่แวดล้อมตัวท่านอาจทำให้อวัยวะต่างๆของร่างกายเสื่อมถอยลงไปโดยที่ท่านไม่รู้สึกตัว จนกระทั่งวันหนึ่งอาการต่างๆ จึงสำแดงออกมาให้เห็นอย่างชัดเจน และโรคยอดฮิตของคนไทยก็คือ โรคโลหิต โดยอาการที่จะสังเกตได้คือ ซีดเหลือง เหน็ดเหนื่อย อ่อนเพลีย ปวดมึนศีรษะ เบื่ออาหาร ใจสั่น ฯลฯ เมื่อมีสัญญาณเหล่านี้ คุณก็ไม่ควรปล่อยปละละเลย เพราะนี่คือสัญญาณบ่งชี้ถึงภาวะขาดธาตุเหล็ก ซึ่งเป็นสารจำเป็นในการสร้างฮีโมโกลบินเป็นเหตุให้เกิด ”ภาวะโลหิตจาง”</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"><strong>โลหิตจางจากภาวะขาดธาตุเหล็ก</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">       โรคโลหิตจางจากภาวะขาดธาตุเหล็กเป็นโรคที่พบได้บ่อยในหมู่คนไทยโรคหนึ่ง ในทุกเพศทุกวัยมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กเล็ก วัยรุ่น ผู้สูงอายุ และหญิงตั้งครรภ์ สาเหตุเกิดจากการบริโภคอาหารไม่ถูกหลักทำให้ได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของการสร้างเม็ดโลหิตแดง ร่วมกับสารโปรตีนและวิตามินต่างๆ เมื่อขาดธาตุเหล็ก ไขกระดูกในร่างกายไม่สามารถสร้างเม็ดโลหิตแดงได้ จึงกลายเป็นโรคโลหิตจาง มีสาเหตุจากการขาดเซลล์ต้นกำเนิดหรือมีจำนวนเซลล์น้อยทำให้ขาดเซลล์ที่จะเจริญไปเป็นเม็ดโลหิตแดง และสาเหตุอีกอย่างหนึ่ง คือขาดสารอาหารที่จำเป็นในการเจริญเติบโตของเซลล์ เช่น แร่ธาตุ วิตามิน เกลือแร่ และเอนไซม์ มีการทำลายเม็ดโลหิตแดงมากกว่าปกติ สาเหตุจากภายนอกไขกระดูก คือ ไขกระดูกสามารถสร้างเม็ดโลหิตแดงได้ปกติ และเมื่อสร้างเม็ดโลหิตแดงแล้ว ถูกทำลาย หรือมีอายุสั้นกว่า 120 วัน ซึ่งมีสาเหตุจากการผิดปกติที่เม็ดโลหิตแดง จากพันธุกรรม หรือม้าม ทำหน้าที่จับกิน และทำลายเม็ดโลหิตแดงมากกว่าปกติ</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"><strong>อาการเสียโลหิตหรือขาดธาตุเหล็กอย่างเรื้อรัง</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20251/ya.jpg\" height=\"187\" width=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://mail.vcharkarn.com/varticle/39590\">http://mail.vcharkarn.com/varticle/39590</a>\n</p>\n<p>\n<br />\n      <span style=\"color: #000080\"> ผู้ที่อยู่ในภาวะดังกล่าวจะมีอาการซีดลงอย่างช้าๆ เหนื่อยง่าย ง่วงเหงา หาวนอน การเรียนแย่ลง ถ้าเป็นเด็กเล็กจะร้องกวนโยเย เบื่ออาหาร เซื่องซึมลง มีลิ้นเลี่ยน การตรวจทางห้องปฏิบัติการจะพบว่าระดับฮีโมโกลบินซึ่งเป็นสีของโปรตีนภายในเม็ดโลหิตแดงลดลงกว่าค่าปกติ (ค่าปกติ ผู้หญิง &gt; 12.0 g/dl ค่าปกติ ผู้ชาย &gt; 13.0 g/dl) เมื่อดูลักษณะของเม็ดโลหิตแดงด้วยกล้องจุลทรรศน์แล้วจะพบว่าเม็ดโลหิตแดงมีขนาดเล็กลง และมีสีจางลง ทำให้สงสัยว่าจะเป็นโรคซีดนั้น เนื่องจากการขาดธาตุเหล็ก และเมื่อตรวจหาปริมาณของธาตุเหล็กในกระแสโลหิตจะพบว่ามีปริมาณธาตุเหล็กลดลง ในขณะเดียวกันปริมาณของโปรตีนที่ทำหน้าที่จับธาตุเหล็กในกระแสโลหิตจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากมีธาตุเหล็กมาให้จับน้อย</span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<span style=\"color: #000080\"><a href=\"/node/43045\" title=\"กลับหน้าหลัก\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20251/home.gif\" height=\"59\" width=\"50\" /></a> </span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #000080\"><strong> อาหารที่เสริมสร้างธาตุเหล็ก</strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">        การขาดธาตุเหล็กมีผลต่อสุขภาพของคนทุกเพศทุกวัย เพราะจะทำให้ปริมาณการสร้างโลหิตของร่างกายน้อยลง โดยธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบของฮีโมโกลบินที่เป็นสีของเม็ดโลหิตแดง ซึ่ง 58 % ของธาตุเหล็กในร่างกายจะอยู่ในกระแสโลหิต ส่วนที่เหลือจะกระจายอยู่ตามกล้ามเนื้อ น้ำย่อยต่างๆ ในเซลล์ทั่วร่างกาย และบางส่วนถูกเก็บสะสมไว้ในกระดูก ตับและม้าม ทั้งนี้ แต่ละคนต้องการธาตุเหล็กในปริมาณที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับอายุ เพศ ขนาดร่างกาย และภาวะโภชนาการของแต่ละคน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20251/fruit.jpg\" height=\"280\" width=\"280\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.arunsawat.com/board/index.php?topic=201.msg10041\">http://www.arunsawat.com/board/index.php?topic=201.msg10041</a>\n</p>\n<p>\n      <span style=\"color: #000080\"> ธาตุเหล็กมีมากในอาหารประเภทเนื้อสัตว์ต่างๆเช่น เนื้อ ไก่ หมู ตับ เป็นต้น ธาตุเหล็กในเนื้อสัตว์ ร่างกายสามารถดูดซึมไปใช้ได้ดีกว่าธาตุเหล็กที่มีอยู่ในพืช ซึ่งมีมากในผักใบเขียวและถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ ขณะเดียวกัน ผักและผลไม้ ที่มีวิตามินสูงจะช่วยเพิ่มการดูดซึมธาตุเหล็กในร่างกายให้ดีขึ้น พร้อมกันนั้น ควรบริโภคอาหารที่มีวิตามินบี 12 และกรดโฟลิคร่วมด้วย เนื่องจากขบวนการสร้างเม็ดโลหิตแดงจากธาตุเหล็ก จำเป็นต้องอาศัยสารอาหารเหล่านั้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20251/d9.jpg\" height=\"212\" width=\"270\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://blog.hunsa.com/nanny007/cat/11603\">http://blog.hunsa.com/nanny007/cat/11603</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #000080\"><strong>*สำหรับผู้ที่รับประทานมังสวิรัติ จำเป็นต้องรับประทานถั่วเหลือง เต้าหู้ และพืชผักให้มาก จึงจะได้รับธาตุเหล็กเพียงพอ*</strong></span>\n</p>\n<p>\n       <span style=\"color: #000080\">การมีระบบโลหิตที่ดีจึงเป็นพื้นฐานหนึ่งของการมีสุขภาพดี อาหาร หรือสารอาหารที่ช่วยบำรุงโลหิตจึงมีความจำเป็นต่อร่างกาย ควรให้ความสนใจ และรับประทานในปริมาณที่ร่างกายต้องการ ก็จะช่วยให้ระบบโลหิตในร่างกายของคุณหมุนเวียนได้ดี ส่งผลให้ผิวพรรณสดใส ไม่อ่อนเพลีย และซีดจาง</span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/43045\" title=\"กลับหน้าหลัก\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20251/home.gif\" height=\"59\" width=\"50\" /></a>\n</p>\n', created = 1715299146, expire = 1715385546, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3e805786bd628eae959d90039893dd99' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7aa3fafe22712c3bf260d61126a6c289' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #000080\"><strong>ธาตุเหล็ก กับโลหิต</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20251/blood4.gif\" height=\"200\" width=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.topnews.in/usa/why-do-local-blood-centers-turn-promotions-lure-donors-2627\">http://www.topnews.in/usa/why-do-local-blood-centers-turn-promotions-lure-donors-2627</a>\n</p>\n<p>\n<br />\n      <span style=\"color: #000080\"> ในชีวิตประจำวันของคนส่วนใหญ่ มักมีความรู้สึกเหมือนว่าตนเองมีสุขภาพแข็งแรง ไม่เจ็บป่วย แต่ในความเป็นจริงแล้ว ปัจจัยหลายๆอย่างที่แวดล้อมตัวท่านอาจทำให้อวัยวะต่างๆของร่างกายเสื่อมถอยลงไปโดยที่ท่านไม่รู้สึกตัว จนกระทั่งวันหนึ่งอาการต่างๆ จึงสำแดงออกมาให้เห็นอย่างชัดเจน และโรคยอดฮิตของคนไทยก็คือ โรคโลหิต โดยอาการที่จะสังเกตได้คือ ซีดเหลือง เหน็ดเหนื่อย อ่อนเพลีย ปวดมึนศีรษะ เบื่ออาหาร ใจสั่น ฯลฯ เมื่อมีสัญญาณเหล่านี้ คุณก็ไม่ควรปล่อยปละละเลย เพราะนี่คือสัญญาณบ่งชี้ถึงภาวะขาดธาตุเหล็ก ซึ่งเป็นสารจำเป็นในการสร้างฮีโมโกลบินเป็นเหตุให้เกิด ”ภาวะโลหิตจาง”</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"><strong>โลหิตจางจากภาวะขาดธาตุเหล็ก</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">       โรคโลหิตจางจากภาวะขาดธาตุเหล็กเป็นโรคที่พบได้บ่อยในหมู่คนไทยโรคหนึ่ง ในทุกเพศทุกวัยมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กเล็ก วัยรุ่น ผู้สูงอายุ และหญิงตั้งครรภ์ สาเหตุเกิดจากการบริโภคอาหารไม่ถูกหลักทำให้ได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของการสร้างเม็ดโลหิตแดง ร่วมกับสารโปรตีนและวิตามินต่างๆ เมื่อขาดธาตุเหล็ก ไขกระดูกในร่างกายไม่สามารถสร้างเม็ดโลหิตแดงได้ จึงกลายเป็นโรคโลหิตจาง มีสาเหตุจากการขาดเซลล์ต้นกำเนิดหรือมีจำนวนเซลล์น้อยทำให้ขาดเซลล์ที่จะเจริญไปเป็นเม็ดโลหิตแดง และสาเหตุอีกอย่างหนึ่ง คือขาดสารอาหารที่จำเป็นในการเจริญเติบโตของเซลล์ เช่น แร่ธาตุ วิตามิน เกลือแร่ และเอนไซม์ มีการทำลายเม็ดโลหิตแดงมากกว่าปกติ สาเหตุจากภายนอกไขกระดูก คือ ไขกระดูกสามารถสร้างเม็ดโลหิตแดงได้ปกติ และเมื่อสร้างเม็ดโลหิตแดงแล้ว ถูกทำลาย หรือมีอายุสั้นกว่า 120 วัน ซึ่งมีสาเหตุจากการผิดปกติที่เม็ดโลหิตแดง จากพันธุกรรม หรือม้าม ทำหน้าที่จับกิน และทำลายเม็ดโลหิตแดงมากกว่าปกติ</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"><strong>อาการเสียโลหิตหรือขาดธาตุเหล็กอย่างเรื้อรัง</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u20251/ya.jpg\" height=\"187\" width=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"http://mail.vcharkarn.com/varticle/39590\">http://mail.vcharkarn.com/varticle/39590</a>\n</p>\n<p>\n<br />\n      <span style=\"color: #000080\"> ผู้ที่อยู่ในภาวะดังกล่าวจะมีอาการซีดลงอย่างช้าๆ เหนื่อยง่าย ง่วงเหงา หาวนอน การเรียนแย่ลง ถ้าเป็นเด็กเล็กจะร้องกวนโยเย เบื่ออาหาร เซื่องซึมลง มีลิ้นเลี่ยน การตรวจทางห้องปฏิบัติการจะพบว่าระดับฮีโมโกลบินซึ่งเป็นสีของโปรตีนภายในเม็ดโลหิตแดงลดลงกว่าค่าปกติ (ค่าปกติ ผู้หญิง &gt; 12.0 g/dl ค่าปกติ ผู้ชาย &gt; 13.0 g/dl) เมื่อดูลักษณะของเม็ดโลหิตแดงด้วยกล้องจุลทรรศน์แล้วจะพบว่าเม็ดโลหิตแดงมีขนาดเล็กลง และมีสีจางลง ทำให้สงสัยว่าจะเป็นโรคซีดนั้น เนื่องจากการขาดธาตุเหล็ก และเมื่อตรวจหาปริมาณของธาตุเหล็กในกระแสโลหิตจะพบว่ามีปริมาณธาตุเหล็กลดลง ในขณะเดียวกันปริมาณของโปรตีนที่ทำหน้าที่จับธาตุเหล็กในกระแสโลหิตจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากมีธาตุเหล็กมาให้จับน้อย</span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<span style=\"color: #000080\"><a href=\"/node/43045\" title=\"กลับหน้าหลัก\"><img border=\"0\" src=\"/files/u20251/home.gif\" height=\"59\" width=\"50\" /></a> </span>\n</p>\n', created = 1715299146, expire = 1715385546, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7aa3fafe22712c3bf260d61126a6c289' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ธาตุเหล็ก กับโลหิต

ธาตุเหล็ก กับโลหิต

http://www.topnews.in/usa/why-do-local-blood-centers-turn-promotions-lure-donors-2627


       ในชีวิตประจำวันของคนส่วนใหญ่ มักมีความรู้สึกเหมือนว่าตนเองมีสุขภาพแข็งแรง ไม่เจ็บป่วย แต่ในความเป็นจริงแล้ว ปัจจัยหลายๆอย่างที่แวดล้อมตัวท่านอาจทำให้อวัยวะต่างๆของร่างกายเสื่อมถอยลงไปโดยที่ท่านไม่รู้สึกตัว จนกระทั่งวันหนึ่งอาการต่างๆ จึงสำแดงออกมาให้เห็นอย่างชัดเจน และโรคยอดฮิตของคนไทยก็คือ โรคโลหิต โดยอาการที่จะสังเกตได้คือ ซีดเหลือง เหน็ดเหนื่อย อ่อนเพลีย ปวดมึนศีรษะ เบื่ออาหาร ใจสั่น ฯลฯ เมื่อมีสัญญาณเหล่านี้ คุณก็ไม่ควรปล่อยปละละเลย เพราะนี่คือสัญญาณบ่งชี้ถึงภาวะขาดธาตุเหล็ก ซึ่งเป็นสารจำเป็นในการสร้างฮีโมโกลบินเป็นเหตุให้เกิด ”ภาวะโลหิตจาง”

 

โลหิตจางจากภาวะขาดธาตุเหล็ก

       โรคโลหิตจางจากภาวะขาดธาตุเหล็กเป็นโรคที่พบได้บ่อยในหมู่คนไทยโรคหนึ่ง ในทุกเพศทุกวัยมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กเล็ก วัยรุ่น ผู้สูงอายุ และหญิงตั้งครรภ์ สาเหตุเกิดจากการบริโภคอาหารไม่ถูกหลักทำให้ได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย ธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของการสร้างเม็ดโลหิตแดง ร่วมกับสารโปรตีนและวิตามินต่างๆ เมื่อขาดธาตุเหล็ก ไขกระดูกในร่างกายไม่สามารถสร้างเม็ดโลหิตแดงได้ จึงกลายเป็นโรคโลหิตจาง มีสาเหตุจากการขาดเซลล์ต้นกำเนิดหรือมีจำนวนเซลล์น้อยทำให้ขาดเซลล์ที่จะเจริญไปเป็นเม็ดโลหิตแดง และสาเหตุอีกอย่างหนึ่ง คือขาดสารอาหารที่จำเป็นในการเจริญเติบโตของเซลล์ เช่น แร่ธาตุ วิตามิน เกลือแร่ และเอนไซม์ มีการทำลายเม็ดโลหิตแดงมากกว่าปกติ สาเหตุจากภายนอกไขกระดูก คือ ไขกระดูกสามารถสร้างเม็ดโลหิตแดงได้ปกติ และเมื่อสร้างเม็ดโลหิตแดงแล้ว ถูกทำลาย หรือมีอายุสั้นกว่า 120 วัน ซึ่งมีสาเหตุจากการผิดปกติที่เม็ดโลหิตแดง จากพันธุกรรม หรือม้าม ทำหน้าที่จับกิน และทำลายเม็ดโลหิตแดงมากกว่าปกติ

 

อาการเสียโลหิตหรือขาดธาตุเหล็กอย่างเรื้อรัง

 http://mail.vcharkarn.com/varticle/39590


       ผู้ที่อยู่ในภาวะดังกล่าวจะมีอาการซีดลงอย่างช้าๆ เหนื่อยง่าย ง่วงเหงา หาวนอน การเรียนแย่ลง ถ้าเป็นเด็กเล็กจะร้องกวนโยเย เบื่ออาหาร เซื่องซึมลง มีลิ้นเลี่ยน การตรวจทางห้องปฏิบัติการจะพบว่าระดับฮีโมโกลบินซึ่งเป็นสีของโปรตีนภายในเม็ดโลหิตแดงลดลงกว่าค่าปกติ (ค่าปกติ ผู้หญิง > 12.0 g/dl ค่าปกติ ผู้ชาย > 13.0 g/dl) เมื่อดูลักษณะของเม็ดโลหิตแดงด้วยกล้องจุลทรรศน์แล้วจะพบว่าเม็ดโลหิตแดงมีขนาดเล็กลง และมีสีจางลง ทำให้สงสัยว่าจะเป็นโรคซีดนั้น เนื่องจากการขาดธาตุเหล็ก และเมื่อตรวจหาปริมาณของธาตุเหล็กในกระแสโลหิตจะพบว่ามีปริมาณธาตุเหล็กลดลง ในขณะเดียวกันปริมาณของโปรตีนที่ทำหน้าที่จับธาตุเหล็กในกระแสโลหิตจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากมีธาตุเหล็กมาให้จับน้อย

 

สร้างโดย: 
นส.อุณานุศร์ ศรีสมัยเจริญ และคุณครูพรรณนภา กำบัง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 358 คน กำลังออนไลน์